การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
ขั้นตอนการลงทะเบียนหนังสือส่ง (โดยภาพรวม)
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
ขั้นตอนการเปลี่ยนชื่อสกุล
การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
กองการเงินและบัญชี ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายควบคุมงบประมาณ กลุ่มงานบัญชี
4.1 การคัดเลือกผู้แทนสมาชิก
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
การจ้างลูกจ้างชั่วคราว
การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในระดับควบตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปแต่งตั้ง
การแต่งตั้งข้าราชการ
การย้ายและให้ลูกจ้างประจำปฏิบัติงาน
ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจ่ายเงินให้กับ ผู้มีสิทธิรับเงินตามโครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ.
กองการเงินและบัญชี ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายควบคุมงบประมาณ กลุ่มงานบัญชี
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
การสอบคัดเลือกตาม ว 34.
เป็นการย้ายข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิมตั้งแต่ระดับ 8
การคัดเลือกนักเรียนทุน
กระบวนการมอบอำนาจในการตัดสินใจของกรมชลประทาน
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
การนำรายชื่อผู้สอบแข่งขันได้ในตำแหน่งหนึ่ง
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ตรวจสอบตำแหน่งที่จะเปิดสอบ
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
ชื่อหน่วยงาน ฝ่าย/งาน ก.
การแต่งตั้งข้าราชการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
สป.สธ.ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการ ด้านการบริหารงานบุคคล
การเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ตาม พ. ร. บ
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กรณีตำแหน่งนอกเลื่อนไหล และ ตำแหน่งว่างในสังกัด สสจ./รพศ.,
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
นายโกสน เพชรรักษ์ นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
การปรับวุฒิข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
หนังสือภายใน และ หนังสือภายนอก
หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่ง ตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่
หลักเกณฑ์การเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) ลูกจ้างประจำ
ซึ่งดำรงตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนดเป็นระดับ 6
การย้ายข้าราชการ.
หลักเกณฑ์การสอบคัดเลือก
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
คุณเคยสงสัยใน หลักเกณฑ์ การย้ายและการ โอนบ้างไหมครับ ไม่ต้องกังวล อีก ต่อไปแล้ว ครับ อยากรู้ลอง คลิกดู การ โอน ติดต่อ Web Master หากมีข้อสงสัย ในเรื่องการโอน.
การบรรจุแต่งตั้ง ข้าราชการ
หลักเกณฑ์การสอบคัดเลือก หรือคัดเลือก
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
การตรวจสภาพถนนไร้ฝุ่น ก่อนคืนค้ำประกันสัญญา
ผู้มีอำนาจในการแต่งตั้ง
การคัดเลือกฯ ปริญญาโท
การดำเนินการเกี่ยวกับพนักงานราชการ
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการ
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3 สำหรับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 หรือระดับ 2-4 สำหรับ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 หรือระดับ 3 - 5 สำหรับ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ในระดับเดียวกัน โดยได้รับ เงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม (มีการเปลี่ยนตำแหน่งเลขที่)

1. ข้าราชการที่จะย้ายต้องมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ ตำแหน่งตรงตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะย้าย หรือได้รับการยกเว้น 2. มีตำแหน่งว่างที่จะย้าย ยกเว้น กรณีย้ายสับเปลี่ยนตำแหน่ง 3. รับเงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม

4. ข้าราชการที่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้น จากระดับ 3 หากจะย้ายไปดำรงตำแหน่งในสายงาน ที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ต้องเป็นผู้สอบแข่งขันได้ ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0711 /ว 12 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2533 หรือเป็นผู้ได้รับการ คัดเลือกตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0705/ว 7 ลงวันที่ 18 มิถุนายน 2534

5. การย้ายข้าราชการผู้ดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นมาดำรง ตำแหน่งในระดับ 4 ของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 2 ต้องดำรงตำแหน่งในระดับ 3 หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี และการย้ายข้าราชการผู้ดำรง ตำแหน่งในสายงานอื่นมาดำรงตำแหน่งในระดับ 5 ของ สายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 ต้องดำรงตำแหน่งในระดับ 4 หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ตามหลักเกณฑ์หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 0708.1/ ว 3 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2538

6. การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในสำนัก / กอง เดียวกัน ตั้งแต่ระดับ 6 ลงมา ที่ไม่ใช่หัวหน้าฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้าสำนักงาน ที่ปรากฏตามโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการ กรมฯ มอบอำนาจให้สำนัก / กอง ดำเนินการได้เอง ตามคำสั่งกรมชลประทาน ที่ ข 777 / 2548 ลงวันที่ 15 กันยายน 2548 7. การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งต่างสำนัก / กอง และ ระดับ 7 ขึ้นไป ต้องส่งเรื่องให้สำนักพัฒนาโครงสร้าง และระบบบริหารงานบุคคล ดำเนินการ

สรุปขั้นตอนการดำเนินการ รับเรื่อง ตรวจสอบคุณสมบัติฯ คุณสมบัติไม่ครบถ้วน แจ้งสำนัก/กอง เจ้าของเรื่อง สงวนตำแหน่ง (กอ.บค.) จัดทำคำสั่ง ทุกวันที่ 15 ของเดือน ตรวจสอบอัตราเงินเดือน (ฝงง.) ขอความเห็นชอบ อธิบดี เสนอรองอธิบดี

 การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ) ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)  ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการที่จะย้ายให้มีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามที่ ก.พ. กำหนด  ส่งเรื่องให้กลุ่มพัฒนาระบบงานและอัตรากำลัง สำนักพัฒนาโครงสร้างฯ เพื่อตรวจสอบและสงวนตำแหน่ง  ส่งเรื่องให้ฝ่ายควบคุมเงินเดือนและค่าจ้าง กองการเงินและบัญชี เพื่อตรวจสอบอัตราเงินเดือนของตำแหน่งว่าง

 การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ) ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)  ส่งเรื่องคืน ฝ่ายสรรหาฯ เพื่อตรวจสอบประวัติของข้าราชการ ที่จะย้าย ดังนี้ 1) ชื่อ – สกุล 2) เลขประจำตัวประชาชน 3) ชื่อตำแหน่ง 4) ตำแหน่งเลขที่ 5) สังกัด 6) อัตราเงินเดือน

 การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ) ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายต่างสำนัก/กอง (อยู่ในอำนาจกรมฯ)  จัดทำบันทึกขอความเห็นชอบรองอธิบดี ในสายงานที่รับผิดชอบหน่วยงานนั้น ๆ  ขอความเห็นชอบอธิบดี  จัดทำคำสั่งเสนออธิบดี ลงนามทุกวันที่ 15 ของเดือน

 การย้ายภายในสำนัก/กอง ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายภายในสำนัก/กอง 1. ตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการที่จะย้ายให้มีคุณสมบัติครบถ้วน ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ ก.พ. กำหนด 2. ให้ฝ่ายบริหารทั่วไป เสนอเรื่องไปยังกลุ่มอัตรากำลังและระบบงาน สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล ตรวจสอบและ สงวนตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง และเสนอเรื่องไปยังฝ่ายควบคุมเงินเดือน และค่าจ้าง กองการเงินและบัญชี เพื่อตรวจสอบอัตราเงินเดือนของ ตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง

 การย้ายภายในสำนัก/กอง ขั้นตอนการดำเนินการ  การย้ายภายในสำนัก/กอง 3. เสนอคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองการย้ายของสำนัก / กอง เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบในการย้าย 4. ดำเนินการจัดทำคำสั่ง เสนอผู้อำนวยการสำนัก / ผู้อำนวยการกอง ลงนาม 5. ส่งสำเนาคำสั่ง จำนวน 9 ชุด ให้สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบ บริหารงานบุคคล ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันที่ออกคำสั่ง