บทบาทของกรมประมง ในการเป็นประชาคมอาเซียน
บทบาทกรมประมง ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (APSC) สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจผ่านความร่วมมือด้านประมง ประชาคมเศรษฐกิจ (AEC) พัฒนาศักยภาพการแข่งขันของเกษตรกรไทย ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASCC) พัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมฯและเกษตรกร
ความร่วมมือเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ ความปลอดภัยและสวัสดิภาพของลูกเรือประมง ความร่วมมือการศึกษาวิจัยทะเล & แม่น้ำโขง การควบคุมการประมงในและนอกน่านน้ำ ความร่วมมือ IUU
พัฒนาศักยภาพการแข่งขันของเกษตรกรไทย การลดต้นทุนการผลิต – อาหาร การใช้ปัจจัยการผลิต ศึกษาวิจัย ศักยภาพการผลิตสัตว์น้ำชายฝั่ง และ สัตว์น้ำจืด เทคนิคการเลี้ยงที่เหมาะสม – คุณภาพ พันธุ์ ขนาด ปริมาณเนื้อ รสชาติ ความปลอดภัย การตลาดภายในประเทศ – Supply, Demand, Just in Time, ราคา
ศักยภาพการแข่งขันของเกษตรกรไทย ทบทวน ประสิทธิภาพ เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ระบบควบคุมมาตรฐานฟาร์ม ระบบควบคุมตรวจสอบมาตรฐานสินค้าประมง ด่านกักกันสัตว์น้ำ เสริมสร้าง ศักยภาพ อุปสรรคการค้า การพัฒนา หรือไม่ การปกป้องเกษตรกร และผู้บริโภค
บุคลากร ภาษา วิชาการ การเจรจาต่อรอง อังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน ภาษาประเทศพันธมิตรอื่นๆ กฎระเบียบอาเซียน ข้อมูลด้านประมงของไทย ศักยภาพประเทศเพื่อนบ้าน เทคนิคการเจรจา การจัดทำท่าที การหาพันธมิตร
เกษตรกร การตลาด เทคนิคการเลี้ยง การผลิตใหม่ๆ มาตรการเกื้อหนุน ระเบียบมาตรฐานความปลอดภัย/มาตรฐานคุณภาพ การตลาด มาตรการเกื้อหนุน
ประเด็นที่ควรผลักดันในกรอบเจรจาอาเซียน คณะกรรมการอาเซียน กรมฯ และผู้แทนกรมฯ ความร่วมมือทางวิชาการ PPP – Public Private Partnership Model เศรษฐกิจพอเพียงด้านประมง ผลักดันการใช้มาตรฐาน GAP, HACCP มาตรฐาน ความร่วมมือ ความมั่นคงอาหาร
www.themegallery.com