การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา ภาควิชาสหกรณ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวทางการพัฒนาสหกรณ์ องค์กรสหกรณ์ + องค์กรธุรกิจ องค์กรสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ องค์กรธุรกิจ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
(Management Techniques) หน้าที่การจัดการ POSDCORB POSDC POLC - Planning(การวางแผน) - Organizing(การจัด องค์การ) - Leading(การนำ) - Controlling(การควบคุม) หน้าที่ธุรกิจ - Production - Marketing - Financing - Personnel - Information Management Tools (Management Techniques) - TQM - Strategic Plan - BSC - Benchmarking - KPIs - PDCA - CSR - CRM - HRM - KM - Kaizen - Six Sigma - Good Governance - CFSAWS:ss etc
TQM MBNQA ระบบประกันคุณภาพ การศึกษา TQA PMQA CQA
TQM : Total Quality Management การบริหารคุณภาพโดยรวม การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร การบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ
หลักการสำคัญของ TQM 1. การมุ่งเน้นคุณภาพ 2. การปรับปรุงกระบวนการ 3. การมีส่วนร่วมของทุกคนในองค์กร 4. มุ่งสู่การเป็นองค์กรที่เป็นเลิศ
ความสัมพันธ์ของ TQM การให้ความสำคัญ สมาชิกทุกคน กับลูกค้า มีส่วนร่วม การพัฒนา อย่างต่อเนื่อง
ปรัชญา TQM “Quality First”
วัตถุประสงค์หลักของ TQM ทำให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ ทำให้คุณภาพชีวิตของบุคลากรทุกคนดีขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง องค์กรมีการพัฒนา มีกำไร อยู่รอด เติบโต
Malcolm Baldrige National Quality Award MBNQA Malcolm Baldrige National Quality Award CQA
Cooperative Quality Award เทคนิคการพัฒนาตนเอง
2. การวางแผน 5. การมุ่งเน้น มุมมองเชิงระบบ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน 5. การมุ่งเน้น กลยุทธ์ ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์กร 7. ผลลัพธ์การ ดำเนินงาน 3. การมุ่งเน้น 6. การจัดการ ผู้ใช้บริการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 1 การนำองค์กร - การกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยมขององค์กร 1. การนำองค์กรโดยผู้บริหารระดับสูง - การกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยมขององค์กร - การสื่อสารของผู้บริหาร - การทบทวนเพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน 2. ธรรมาภิบาลและการเป็นผู้นำชุมชน - การมีธรรมาภิบาล - การปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม - การเป็นผู้นำชุมชน
หมวด 2 การวางแผนกลยุทธ์ 1. การจัดทำแผนกลยุทธ์ - กระบวนการจัดทำแผนกลยุทธ์ 2. การนำแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ - การจัดทำแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การ ปฏิบัติ
หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า/ผู้ใช้บริการ 1. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการ 2. การสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้า 3. การประเมินความพึงพอใจของลูกค้า
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 1. การใช้ข้อมูล เพื่อพัฒนาการดำเนินงาน 2. การวัด การวิเคราะห์ การทบทวน เพื่อปรับปรุงผลการดำเนินงาน 3. การจัดการสารสนเทศ ความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 1. การสร้างความผูกพันของบุคลากรต่อองค์กร - การเพิ่มคุณค่าแก่บุคลากร - การพัฒนาบุคลากรและผู้นำ - การประเมินความผูกพันของบุคลากร 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของบุคลากร - ขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร - บรรยากาศการทำงาน
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 1. การออกแบบระบบงาน 2. การจัดการและการปรับปรุงกระบวนการทำงาน
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินงาน 1. ด้านการนำองค์กร 2. ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 3. ด้านการมุ่งเน้นผู้ใช้บริการ 4. ด้านการเงิน 5. ด้านการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. ด้านการจัดการกระบวนการ
สวัสดี