งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF

2 วัตถุประสงค์ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
1. เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐ ให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 2. เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของ หน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล 3. เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเอง และเป็นบรรทัดฐานการติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ

3 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์
ความเชื่อมโยงกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ พรฎ. การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การนำ องค์กร การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร ผลลัพธ์

5 ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง 2 ดำเนินการปรับปรุง 4 สร้างแผนปรับปรุง 3 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

6 1 2 3 4 ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Yes ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA No ได้รับรายงานป้อนกลับ บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects) การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 1 2 3 4

7 วัตถุประสงค์ของการส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่องเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สร้างความพร้อมให้ส่วนราชการนำร่องเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

8 ประโยชน์ที่หน่วยงานนำร่องจะได้รับ
ได้เรียนรู้ระบบการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ ก่อนหน่วยงานอื่น ได้รับทราบสภาพองค์กรในปัจจุบัน ทราบจุดอ่อน และโอกาสในการปรับปรุงขององค์กร เพื่อการปรับปรุงพัฒนาตนเอง (Improvement Action Plan) ได้เอกสารรายงานการดำเนินการบริหารจัดการขององค์กร ตามเกณฑ์คุณภาพ (Application Report)

9 ขั้นตอนและการดำเนินงาน
เข้าพบฝ่ายบริหาร 1. ขั้นเตรียมการ จัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน ปูพื้นฐานให้คณะทำงาน 2. ขั้นตอนดำเนินการ แบ่งกลุ่มทำ Workshop 6 กลุ่ม Workshop 12 ครั้ง ทบทวนการเขียนรายงาน 3. ขั้นทบทวนผลการ ดำเนินงานโครงการ ทบทวนการประเมินหาจุดแข็งและ โอกาสในการปรับปรุง สรุปผลการดำเนินงาน

10 ภาพรวมขั้นตอนการดำเนินโครงการ
การเขียนเอกสารรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้น (First Draft Application Report) W 1-6 รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง ประเมินเนื้อหาในเอกสารรายงานเนื้อหาวิธีการดำเนินการเบื้องต้น (Mock Assessment) W 7-8 ตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่างหมวด และเพิ่มเติมข้อมูลที่ขาดหายไป เอกสารรายงานเนื้อผลการดำเนินการ (Application Report) W 9-10 จัดลำดับความสำคัญโอกาสในการปรัปปรุง W 11-12 จัดทำแผนการปรับปรุง นำเสนอ Steering Committee

11 ระยะเวลาดำเนินโครงการ
เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 เดือนที่ 4 WK 1 2 3 4 ขั้นตอนการดำเนินงาน การอบรมเชิงปฏิบัติการ 12 ครั้ง การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2-3 การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 4-6 การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 7-8 การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 9-10 การอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 11-12 คณะทำงานนำเสนอแผนการปรับปรุงต่อ Steering Committee

12 สรุปประโยชน์และ Output จากการดำเนินโครงการ
เรียนรู้ระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เอกสารรายงานเนื้อหาวิธีการดำเนินการ(Application Report) เรียนรู้วิธีการเขียนเอกสารรายงานผลการดำเนินการ(Application Report) และสามารถแก้ไขเพิ่มเติม รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง (Strength and Opportunities for Improvement) รู้สภาพองค์กรในปัจจุบัน เรียนรู้วิธีกำหนดแผนการปรับปรุงภายใน แผนการปรับปรุง(Improvement Plan)

13 ส่วนราชการประจำอำเภอ
สนง. สัสดีอำเภอ ที่ทำการปกครองอำเภอ สนง. พัฒนาชุมชน อำเภอ สนง.สาธารณสุข อำเภอ สนง. เกษตรอำเภอ ส่วนราชการอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ในอำเภอ สำนักพระพุทธศาสนา วัฒนธรรม ท้องถิ่น ป่าไม้ การศึกษานอกโรงเรียน โรงพยาบาล - ตำรวจภูธร - หมวดการทาง สรรพากร การป้องกันและรักษาป่า ฯลฯ

14 หน้าที่ คณะกรรมการบริหาร (Steering Committee) ให้คำปรึกษา/สนับสนุน
กำกับติดตาม จัดสรรทรัพยากร สื่อสารทั้งองค์กร คณะทำงาน (Working Team) รวบรวมข้อมูล จัดทำรายงาน ประเมินองค์กร จัดทำแผนปรับปรุง หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6

15 แนวทางการจัดตั้ง Steering Committee ระดับจังหวัด
ผู้บริหารสูงสุด (ผู้ว่าราชการจังหวัด CEO) ประธาน ผู้บริหารระดับรอง (รองผู้ว่าราชการจังหวัด) หัวหน้าสำนักงานจังหวัด ผู้บริหารระดับรอง รองผู้ว่าราชการจังหวัด (CCO) นายอำเภอ (เลขานุการ) รองประธาน หน้าที่ : สนับสนุน Working Team ในการดำเนินการ จัดสรรทรัพยากรสำหรับดำเนินการตามแผนปรับปรุง และสื่อสารให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำคัญของการใช้เกณฑ์มาปรับปรุงองค์กร

16 แนวทางการจัดตั้ง Working Team ระดับจังหวัด
รองประธาน Steering Committee (รองผู้ว่าราชการจังหวัด) ทำหน้าที่ประธาน Working Team นายอำเภอ ทำหน้าที่รองประธาน Working Team หัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ Category Champion เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (เลขานุการ) Members เลขานุการ หน้าที่ : จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรพร้อมกับประเมินองค์กรด้วยตนเอง และจัดทำรายงานผลการดำเนินการเบื้องต้นของส่วนราชการ

17 องค์ประกอบ Working Team หมวด 1 การนำองค์กร รองผู้ว่า/นายอำเภอ
เลขานุการ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การเจ้าหน้าที่ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ แผนงานจังหวัด/อำเภอ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ แผนงานจังหวัด/อำเภอ งานเทคโนโลยี การเจ้าหน้าที่ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หน.ส่วนราชการ/ภารกิจ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หน.ส่วนราชการ/ภารกิจ

18 แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ Thailand Quality Award Malcolm Baldrige National Quality Award


ดาวน์โหลด ppt โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google