About me My Academic Profile Mr.Kulachatr Chatrakul Na Ayudhya My Academic Profile B.Sc in Chemical Industrial CMU (Silicate Technology ) 1992 MBA. in Marketing PYU 1998 MITM (Master of Information Technology and Management) , CMU 2004 MKIS , Retailing Mng. , Dummy Production Management Logistic & Supply chain Marketing Dept. Business Admin Fac. Payap university Email : kulachatrakul@gmail.com : kulachatr@payap.ac.th
Logistic Management Introduction & Strategy Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya Naresuan University Payao Campus Semester 1/50
นักบริหารจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก
Logistics Management Section 1 Ch 1 ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของโลจิสติกส์ Ch 2 การจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก Ch 3 กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ Ch 4 โลจิสติกส์ และ การจัดการซัพพลายเชน
Logistics Management Section 2 Ch 5 การพยากรณ์ความต้องการ Ch 6 การจัดการสินค้าคงคลัง Ch 7 การจัดการการผลิตและการไหลของพัสดุ Ch 8 การจัดการคลังสินค้าและบรรจุภัณฑ์ Ch 9 อุปกรณ์การจัดเก็บและเคลื่อนย้ายในโลจิสติกส์ Ch 10 การจัดการการขนส่ง Ch 11 การวางแผนเครือข่ายและการเลือกทำเลที่ตั้ง Ch 12 เทคโนโลยีสารสนเทศในโลจิสติกส์
Logistics Management Section 3 Ch 13 การเงินกับการจัดการโลจิสติกส์ Ch 14 การวางแผนกลยุทธ์สำหรับโลจิสติกส์ Ch 15 การควบคุมด้านโลจิสติกส์ Ch 16 การลดต้นทุน สร้างกำไรจากกิจกรรมโลจิสติกส์
Strategic Logistics The Important of Strategic Logistics Chapter 1 ความหมาย พัฒนาการ และ ความเป็นมา The Important of Strategic Logistics ประโยชน์ ของ โลจิสติกส์ กลยุทธ์องค์กรและ การจัดการ การเพิ่มขีด ความสามารถ ในการแข่งขัน
Aviation Ship Truck Transportation Business Warehouse Traffic
ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของระบบโลจิสติกส์ ความหมายของการจัดการโลจิสติกส์ : กระบวนการเคลื่อนย้ายและจัดเก็บสินค้า วัตถุดิบจากแหล่งกำเนิดจนถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย Management of process of moving and storing goods and materials from the original source to ultimate user (Logistics Training International Limited , 2001) 1950-1964 ใช้ในกิจการทหารเพื่อการส่งกำลังบำรุง 1965-1979 นำระบบโลจิสติกส์มาใช้ในการจัดการวัสดุและกระบวน การกระจายสินค้า เริ่มมีกระบวนการทางการตลาด การจัดซื้อ การ พยากรณ์ความต้องการสินค้าและให้ความสำคัญกับต้นทุน กำไรและ ผลตอบแทนการลงทุน
ความสำคัญเชิงกลยุทธ์ของระบบโลจิสติกส์ 1980-1990 เป็นช่วงเศรษฐกิจถดถอย เกิดความผิดพลาดเรื่องการ จัดการกระจายสินค้าและการจัดการวัสดุคงคลังในบริษัท ธุรกิจเริ่ม ข้ามชาติกันมากขึ้น ผู้บริหารเริ่มหันมาให้ความสนใจโลจิสติกส์เพื่อ ลดต้นทุนบริหารจัดการมากขึ้น แต่ยุคนี้ยังขาดข้อมูลสารสนเทศจึง ไม่มีใครสนใจความต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง 1990 เป็นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีข้อมูลข่าวสารกระจาย และเข้าถึงได้ง่าย มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์กร ด้วย EDI (Electronic Data Interchange)ทำให้มีการไหลของสารสนเทศเร็ว และถูกต้องมากยิ่งขึ้น ใช้ข้อมูลชุดเดียวเพื่อลดการซ้ำซ้อนของงาน กระแสเงินสดไหลเวียนดีขึ้นด้วย EFT (Electronic Fund Transfer) ปัจจุบันมีเครือข่ายอินเทอร์เนตที่ให้ความเร็วสูง ต้นทุนต่ำ สามารถ เพิ่มขีดความสามารถในระดับโลก และทำให้ทราบความต้องการของ ลูกค้าปลายน้ำ (down-stream) เพื่อวางแผนบริหารการผลิตต้นน้ำ (up-stream) ในระบบโซ่อุปทาน (Supply Chain) ได้
Supply Chain Management
Physical Flow of products การจัดการซัพพลายเชน Supply Chain Management ; กระบวนการบูรณาการ ประสานงาน และควบคุมการเคลื่อนย้ายสินค้าคงคลัง ได้แก่ วัตถุดิบ สินค้าสำเร็จรูปและ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องในกระบวนการจากผู้ขายวัตถุดิบผ่านบริษัทไปยัง ผู้บริโภค เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของผู้บริโภค (The council of logistics Management ,2002) Supply Chain Information Flow การผลิต การกระจายสินค้า การตลาด การจัดซื้อ Up-stream Down-stream Logistics Physical Flow of products
การจัดการซัพพลายเชนกับระบบโลจิสติกส์ จากภาพจะพบว่ากิจกรรมใน Supply Chain ประกอบด้วย (Up-stream) การจัดซื้อ การผลิตหรือการดำเนินงาน การกระจายสินค้าการตลาด (Down-stream) ซึ่งจะดำเนินการเกี่ยวเนื่องสอดคล้องกันทั้งกระบวนการ (โซ่) การจัดการซัพพลายเชนที่ดีจะทำให้ล่วงรู้ความต้องการของ up-stream ซึ่งจะทำให้ down-stream เตรียมการได้ตามต้องการ ด้วยระบบสารสนเทศ (Information System) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Up- stream จะเตรียมวัตถุดิบ ส่งผ่านไปผลิต กระจายสินค้าเข้าสู่ระบบการตลาดและขนส่งถึงลูกค้า Down-stream ในเวลา ปริมาณและสถานที่อย่างถูกต้อง ก็ต่อเมื่อมีระบบ Logistics ที่ดี
RFID Excellent tools for Logistics
การใช้ IT ในกระบวนการซัพพลายเชนและโลจิสติกส์
กลยุทธ์องค์กรกับการจัดการโลจิสติกส์ Logistics Process Inputs Man Money Machine Material Management Conversion Process Outputs Products Service Information Feedback Efficiency in logistic systems ควรใช้ทรัพยากรร่วมกันทั้งระบบ หล่อหลอมการทำงานเป็นหนึ่งเดียวกัน ยกเลิกระบบต่างคนต่างทำหรือแข่งกันทำ แต่ควรมีเป้าหมายระยะไกลร่วมกันในการทำงาน คือ ส่งมอบตรงเวลา ในปริมาณที่ลูกค้าต้องการ
กลยุทธ์ธุรกิจกับโลจิสติกส์ Best Practice “Delivery in 30 min”
โลจิสติกส์ : กลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน โลจิสติกส์ เป็น เครื่องมือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การขนส่งในเวลารวดเร็ว ตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ ทั้งชนิด ปริมาณ เวลาและสถานที่ที่ถูกต้อง สร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า เช่น Pizza Company , DHL , FedEx , 7-11 โลจิสติกส์สร้างกลยุทธ์การแข่งขันได้ ด้วยการตอบสนองลูกค้าในด้าน Speed On Time Responsibility Continuous Process 5 R’s Right Quality Right Quantity Right Source Right Time Right Place
ประโยชน์ของโลจิสติกส์ ลดต้นทุนและสร้างกำไรให้ธุรกิจ ทำให้ธุรกิจเติบโต เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ในการทำธุรกิจ เปลี่ยนการทำงานแบบตามหน้าที่มาเป็นแบบกระบวนการ ประสานงานให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายองค์การ ทำให้ใช้ทรัพย์สินที่คุ้มค่ามากกว่าเดิม เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการลูกค้า สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าทั้งภายในและภายนอกองค์การ มีความรวดเร็วในการสื่อสารด้วย IT
เหตุผลที่บริษัทชั้นนำทั่วโลกต้องลงทุนโลจิสติกส์ เหตุผลที่ 1 การแข่งขันรุนแรงไปทั่วโลก ธุรกิจต้องเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เหตุผลที่ 2 ความต้องการสินค้าและบริการของลูกค้ามีหลากหลาย ไร้ขอบเขต เหตุผลที่ 3 ต้นทุนการดำเนินงานทั้งกระบวนการสูงขึ้น เหตุผลที่ 4 ต้นทุนในอนาคตทางธุรกิจไม่แน่นอน เหตุผลที่ 5 การไม่ตอบสนองความต้องการลูกค้าอาจเสียลูกค้าได้ เหตุผลที่ 6 ลูกค้ามีความต้องการการบริการในระดับที่สูงขึ้น เหตุผลที่ 7 การจัดส่งมีความซับซ้อนหลากหลายรูปแบบมากขึ้น เหตุผลที่ 8 ธุรกิจต้องการความถูกต้องและรวดเร็ว
ข้อมูลบรรณานุกรม http://mkpayap.payap.ac.th/course/myweb/logistics/logistic_main.htm คำนาย อภิปรัชญาสกุล,โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน “กลยุทธ์ทำให้รวยช่วยประหยัด”, --กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นัฐพร , 2546. ISBN : 974-91639-5-8