โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
บทที่ 2.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การดูแลสุขภาพเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แบบทดสอบสำหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 2
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
อย่าด่วนเชื่อเพราะมีเหตุนึกเดาเอาเอง
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
การลงข้อมูลแผนการสอน
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ช.วิริยะ งามสาย ม.1/16 เลขที่ 35 ด.ญ.ศศิธร หอมจันทร์ ม.1/16 เลขที่ 37 ด.ญ.กรรณิกา จตุรงค์ ม.1/16 เลขที่ 2 ด.ญ.กัลยรักษ์ ศาสตราคม ม.1/16 เลขที่ 3 ด.ช.อมต หมวดทอง ม.1/16 เลขที่ 47

บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ วิริยะ   ส่วนสูง 1.57 ม. น้ำหนัก 37   ลุกนั่ง 44 ดันพื้น 34 อ่อนตัว 15 วิ่ง 3.38 ปัญหา  ไม่ได้มีปัญหาอะไร   เพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ เล่นกีฬาเป็นประจำ  ทานอาหารครบ 5 หมู่ ศศิธร  ส่วนสูง 1.69 ม. น้ำหนัก 70  ลุกนั่ง 28 ดันพื้น 31 อ่อนตัว 13 วิ่ง 5.48 อยู่สภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ สาเหตุ ชอบกินของหวาน นอนดึก กรรณิกา ส่วนสูง 1.56 ม.  น้ำหนัก 50  ลุกนั่ง 30 ดันพื้น 33 อ่อนตัว -1 วิ่ง 5.27 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ เข้านอนเร็ว ทานอาหารครบ 5 หมู่ แต่ไม่นิยมทานผัก กัลยรักษ์ ส่วนสูง 1.62  น้ำหนัก 51   ลุกนั่ง 33 ดันพื้น 23 อ่อนตัว 4  วิ่ง 5.4 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ทานอาหารครบ 5 หมู่ เข้านอนเร็ว อมต ส่วนสูง 1.57  น้ำหนัก 64   ลุกนั่ง 28 ดันพื้น 30 อ่อนตัว 5  วิ่ง 6.56  อยู่ในน้ำหนักเกณฑ์เกิน(โรคอ้วน) สาเหตุ  ไม่นิยมเล่นกีฬา และออกกำลังกาย โดยส่วนรวมได้ได้จัดการเรื่องควบคุมน้ำหนักแล้ว และถือว่าอยู่ในระดับดีค่ะ                                                                                                                                                                                                                       

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง การเจริญเติบโตสมวัย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อและครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน ขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของร่างกายและกิจกรรมของวัยรุ่น ควรได้รับวันละ 2200-3000 แคลอรี โปรตีน มีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโต ควรได้รับวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม วิธีการดูแลน้ำหนักตัว รับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ และ เนื้อสัตว์ ให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย รวมทั้งออกกำลังกายเป็นประจำ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน

บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 1.แบ่งหน้าที่การทำงานภายในกลุ่ม 2.ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงปัจจุบัน 3.ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยมีวิธีการ ดังนี้    3.1 ออกกำลังกายทุกวันพุธ และวันศุกร์    3.2 กินอาหารตามหลักโภชนาการ และลดการทานขนมหวาน ซึ่งเป็นสาเหตุของปัญหาหลายๆอย่าง  4.ชั่งน้ำหนักทุกวันศุกร์ เพื่อดูความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย 

บทที่ 4 ผลการดำเนินการ ชื่อสมาชิก 1 9/11/55 2 16/11/55 3 23/11/55 1 9/11/55 2 16/11/55 3 23/11/55 4 30/11/55 5 7/12/55 6 14/12 /55 7 21/12/55 8 28/12/55 วิริยะ 31/1.57 31/1.58 31/1.59 ศศิธร 70/1.69 69/1.69 70/1.68 69/1.68 กรรณิกา 50/1.56 49/1.56 48/1.56 48/1.57 กัลยรักษ์ 51/1.62 อมต 64/1.57 63/1.57 63/1.58 62/1.58 ชื่อสมาชิก น้ำหนัก ส่วนสูง อ่อนตัว ดันพื้น ลุกนั่ง วิ่ง 800ม. วิริยะ 37 1.57 15 34 44 3.38 ศศิธร 70 1.69 13 31 28 5.48 กรรณิกา 50 1.56 -1 33 30 5.27 กัลยรักษ์ 51 1.62 4 23 5.45 อมต 64 5 6.56

บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน ด.ช.วิริยะ งามสาย  สำเร็จเพราะออกกำลังกายเป็นประจำ และทานอาหารที่มประโยชน์ ด.ญ.ศศิธร หอมจันทร์         สำเร็จ เพราะ ออกกำลังกาย และนอนเร็วขึ้น ผลการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆก็ดีขึ้น ด.ญ.กรรณิกา จตุรงค์        สำเร็จ  เพราะ ออกกำลังกาย และผลการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ก็ดีขึ้น ด.ญ.กัลยรักษ์ ศาสตราคม สำเร็จ แต่ไม่ได้เท่าที่หวัง เพราะ น้ำหนัก และส่วนสูงไม่   เพิ่มขึ้นหรือลดลง แต่ผลการทดสอบสมรรถภาพร่างกายลดลง แต่มีเพียงวิ่งเท่านั้นที่ดีขึ้น ด.ช.อมต หมวดทอง สำเร็จ เพราะ ออกกำลังกาย และกินอาหารที่มีประโยชน์ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น และน้ำหนักลดลง

 บรรณานุกรม -หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานสุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มการเรียนรู้สุขศึกและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551     - www.panyathai.or.th