โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ชื่อผู้ทำโครงงาน ด.ช.วิริยะ งามสาย ม.1/16 เลขที่ 35 ด.ญ.ศศิธร หอมจันทร์ ม.1/16 เลขที่ 37 ด.ญ.กรรณิกา จตุรงค์ ม.1/16 เลขที่ 2 ด.ญ.กัลยรักษ์ ศาสตราคม ม.1/16 เลขที่ 3 ด.ช.อมต หมวดทอง ม.1/16 เลขที่ 47
บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ วิริยะ ส่วนสูง 1.57 ม. น้ำหนัก 37 ลุกนั่ง 44 ดันพื้น 34 อ่อนตัว 15 วิ่ง 3.38 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ เล่นกีฬาเป็นประจำ ทานอาหารครบ 5 หมู่ ศศิธร ส่วนสูง 1.69 ม. น้ำหนัก 70 ลุกนั่ง 28 ดันพื้น 31 อ่อนตัว 13 วิ่ง 5.48 อยู่สภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ สาเหตุ ชอบกินของหวาน นอนดึก กรรณิกา ส่วนสูง 1.56 ม. น้ำหนัก 50 ลุกนั่ง 30 ดันพื้น 33 อ่อนตัว -1 วิ่ง 5.27 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ เข้านอนเร็ว ทานอาหารครบ 5 หมู่ แต่ไม่นิยมทานผัก กัลยรักษ์ ส่วนสูง 1.62 น้ำหนัก 51 ลุกนั่ง 33 ดันพื้น 23 อ่อนตัว 4 วิ่ง 5.4 ปัญหา ไม่ได้มีปัญหาอะไร เพราะอยู่ในเกณฑ์สมส่วน สาเหตุ ทานอาหารครบ 5 หมู่ เข้านอนเร็ว อมต ส่วนสูง 1.57 น้ำหนัก 64 ลุกนั่ง 28 ดันพื้น 30 อ่อนตัว 5 วิ่ง 6.56 อยู่ในน้ำหนักเกณฑ์เกิน(โรคอ้วน) สาเหตุ ไม่นิยมเล่นกีฬา และออกกำลังกาย โดยส่วนรวมได้ได้จัดการเรื่องควบคุมน้ำหนักแล้ว และถือว่าอยู่ในระดับดีค่ะ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง การเจริญเติบโตสมวัย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อและครบ 5 หมู่ ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ พลังงาน ขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตของร่างกายและกิจกรรมของวัยรุ่น ควรได้รับวันละ 2200-3000 แคลอรี โปรตีน มีความต้องการมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโต ควรได้รับวันละ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม วิธีการดูแลน้ำหนักตัว รับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ และ เนื้อสัตว์ ให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย รวมทั้งออกกำลังกายเป็นประจำ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน
บทที่ 3 วิธีดำเนินการ 1.แบ่งหน้าที่การทำงานภายในกลุ่ม 2.ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงปัจจุบัน 3.ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยมีวิธีการ ดังนี้ 3.1 ออกกำลังกายทุกวันพุธ และวันศุกร์ 3.2 กินอาหารตามหลักโภชนาการ และลดการทานขนมหวาน ซึ่งเป็นสาเหตุของปัญหาหลายๆอย่าง 4.ชั่งน้ำหนักทุกวันศุกร์ เพื่อดูความเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ ชื่อสมาชิก 1 9/11/55 2 16/11/55 3 23/11/55 1 9/11/55 2 16/11/55 3 23/11/55 4 30/11/55 5 7/12/55 6 14/12 /55 7 21/12/55 8 28/12/55 วิริยะ 31/1.57 31/1.58 31/1.59 ศศิธร 70/1.69 69/1.69 70/1.68 69/1.68 กรรณิกา 50/1.56 49/1.56 48/1.56 48/1.57 กัลยรักษ์ 51/1.62 อมต 64/1.57 63/1.57 63/1.58 62/1.58 ชื่อสมาชิก น้ำหนัก ส่วนสูง อ่อนตัว ดันพื้น ลุกนั่ง วิ่ง 800ม. วิริยะ 37 1.57 15 34 44 3.38 ศศิธร 70 1.69 13 31 28 5.48 กรรณิกา 50 1.56 -1 33 30 5.27 กัลยรักษ์ 51 1.62 4 23 5.45 อมต 64 5 6.56
บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน ด.ช.วิริยะ งามสาย สำเร็จเพราะออกกำลังกายเป็นประจำ และทานอาหารที่มประโยชน์ ด.ญ.ศศิธร หอมจันทร์ สำเร็จ เพราะ ออกกำลังกาย และนอนเร็วขึ้น ผลการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆก็ดีขึ้น ด.ญ.กรรณิกา จตุรงค์ สำเร็จ เพราะ ออกกำลังกาย และผลการทดสอบสมรรถภาพในด้านต่างๆ ก็ดีขึ้น ด.ญ.กัลยรักษ์ ศาสตราคม สำเร็จ แต่ไม่ได้เท่าที่หวัง เพราะ น้ำหนัก และส่วนสูงไม่ เพิ่มขึ้นหรือลดลง แต่ผลการทดสอบสมรรถภาพร่างกายลดลง แต่มีเพียงวิ่งเท่านั้นที่ดีขึ้น ด.ช.อมต หมวดทอง สำเร็จ เพราะ ออกกำลังกาย และกินอาหารที่มีประโยชน์ ส่วนสูงเพิ่มขึ้น และน้ำหนักลดลง
บรรณานุกรม -หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานสุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มการเรียนรู้สุขศึกและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - www.panyathai.or.th