บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

Center of Mass and Center of gravity
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
รูปเรขาคณิต แบ่งเป็น 2 ประเภท รูปเรขาคณิตสองมิติ รูปเรขาคณิตสามมิติ
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
สื่อการเรียนเรขาคณิต
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวิเคราะห์ความเร็ว
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
Points, Lines and Planes
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
ผลคูณเชิงสเกลาร์และผลคูณเชิงเวกเตอร์
Engineering Graphics II [WEEK5]
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
Tangram.
ระบบอนุภาค.
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
Function and Their Graphs
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เลนส์นูน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ วาดเส้นและรูปทรงต่าง ๆ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
วงรี ( Ellipse).
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
Week 6&7 ISOMETRIC DRAWING การเขียนภาพไอโซเมตริก.
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
Low Level GUI อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล.
คณิตศาสตร์ ตัวอย่างข้อสอบ On-Line เรื่อง วงกลม
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
กล่องที่จะทำการเจาะเพื่อใส่ อุปกรณ์ ( ด้านบน ). กล่องที่จะทำการเจาะเพื่อใส่ อุปกรณ์ ( ด้านล่าง )
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
Orthographic Projection week 4
ปริมาตรกรวย ปริมาตรกรวย = ของทรงกระบอก ปริมาตรกรวย =  สูง.
ทรงกลม.
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การเขียนภาพร่าง Free hand Sketching สัปดาห์ที่ 1-3 สัปดาห์ที่ 2.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1 อ.ประทีป ชัยเสริมเทวัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ภาพฉายสามมิติ ภาพฉาย 3 มิติ แบ่งออกได้ 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ภาพฉายหลายวิว (Multiview Projection) 2. ภาพฉายแอกโซโนเมตริก (axonometric projection) 3. ภาพฉายอ็อบลีก (oblique projection) 4. ภาพฉายเพอร์สเปกทีฟ (perspective projective)

ภาพฉายแอกโซโนเมตริก ภาพฉายออร์โทกราฟิกเป็นภาพฉายสองมิติที่เกิดจากการมองให้เส้นสายตาตั้งฉากกับระนาบรับภาพ แต่ภาพฉายแอกโซโนเมตริก (axonometric projection) จะมองเห็นวัตถุเป็นภาพสามมิติ เนื่องจากวัตถุถูกจับเอียง ดังรูป ภาพฉายไอโซเมตริก (isometric projection) ภาพฉายไดเมตริก (dimetric projection) ภาพฉายไทรเมตริก (trimetric projection)

ไอโซเมตริก Isometric Projection

ภาพฉายไอโซเมตริก (Isometric Projection) ความยาวของด้านแต่ละด้านจะเป็น 0.8165 เท่าของความยาวจริงของภาพฉายออร์โทกราฟิก

ภาพวาดไอโซเมตริก (Isometric Drawing) จะเขียนภาพให้ใหญ่ขึ้นประมาณ 1.225 เท่าของภาพจริง

ขั้นตอนการเขียนภาพวาดแบบไอโซเมตริก

ทิศทางของแกนเอียง

การเขียนเส้นที่ไม่ใช้เส้นไอโซเมตริก non-isometric line

มุมในภาพวาดไอโซเมตริก การเขียนมุมทำได้ 3 แบบ

การเขียนวงกลม หรือส่วนของวงกลมในภาพวาดไอโซเมตริก การเขียนทำได้ 2 วิธีคือ 1) วิธีกำหนดจุด

การเขียนวงกลม หรือส่วนของวงกลมในภาพวาดไอโซเมตริก การเขียนทำได้ 2 วิธีคือ 2) วิธีสี่จุดศูนย์กลางแบบประมาณ

การเขียนวงกลม หรือส่วนของวงกลมในภาพวาดไอโซเมตริก การเขียนทำได้ 2 วิธีคือ 2) วิธีสี่จุดศูนย์กลางแบบประมาณ

Quit 4.1 จงเขียนวงกลมรูเจาะแต่ละด้านโดยวิธีสี่จุดศูนย์กลาง

การเขียนวงกลม หรือส่วนของวงกลมในภาพวาดไอโซเมตริก การเขียนทำได้ 2 วิธีคือ 2) วิธีสี่จุดศูนย์กลางแบบประมาณ รูปวงรีที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รูปวงรีของส่วนโค้งของวงกลม

การเขียนวงกลม หรือส่วนของวงกลมในภาพวาดไอโซเมตริก ตัวอย่างการเขียนภาพวาดไอโซเมตริกที่มีรูปวงรีซ้อนกัน

การเขียนวงกลม หรือส่วนของวงกลมในภาพวาดไอโซเมตริก การเขียนทรงกระบอกที่มีขนาดต่างกัน

Quit 4.2 จงเขียนวงกลมรูเจาะแต่ละด้านโดยวิธีสี่จุดศูนย์กลาง

ไดเมตริก Dimetric Projection

การเขียนภาพวาดไดเมตริก ภาพฉายไดเมตริกเป็นภาพฉายที่เกิดจากการจัดวางแกนหลักสองแกนให้ทำมุมเท่ากันกับระนาบรับภาพ ส่วนแกนหลักที่สามอาจทำมุมเล็กกว่าหรือโตกว่าก็ได้

ไตรเมตริก Trimetric Projection

การเขียนภาพวาดไทรเมตริก ภาพฉายไทรเมตริกเป็นภาพฉายที่เกิดจากการจัดวางแกนหลักทั้งสามให้ทำมุมกับระนาบรับภาพไม่เท่ากัน จึงทำให้ขนาดบนแกนหลักทั้งสามสั้นลงไม่เท่ากัน