การเทียบโอนและการเปลี่ยนตำแหน่งจาก ระบบพีซีเข้าสู่ระบบแท่งของข้าราชการในมหาวิทยาลัย โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร วันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม 2551 ณ อาคารประชุมสุขอาชวอำรุง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กฎหมายข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาใหม่ ได้ปรับระบบบริหารงานบุคคล ดังนี้ กำหนดตำแหน่ง ไว้ 3 ประเภท - วิชาการ - บริหาร - ทั่วไปวิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทั้ง 3 ประเภทใหม่ และยกเลิกระบบพีซี
กฎหมายข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาใหม่ ได้ปรับระบบบริหารงานบุคคล ดังนี้ (ต่อ) การให้ได้รับเงินเดือน และเงินประจำตำแหน่งใหม่ เทียบกับข้าราชการพลเรือน (เสนอคณะรัฐมนตรี) ระบบการเลื่อนขั้นเงินเดือนใหม่คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ เทียบการขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การเบิกเบี้ยเลี้ยง ที่พัก ค่าพาหนะเดินทาง
โครงสร้างตำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา กำหนดตำแหน่งเป็น 3 ประเภท 1. ประเภทวิชาการ ได้แก่ ศ. รศ. ผศ. อาจารย์ 2. ประเภทผู้บริหาร - ผู้บริหารมีวาระ (อธิการบดี ฯลฯ) - ผู้บริหารไม่มีวาระ (ผู้อำนวยการสำนักงาน อธิการบดี สำนักงานวิทยาเขต ผู้อำนวยการกอง หรือเทียบเท่า)
โครงสร้างตำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) 3. ประเภททั่วไปวิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ - ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ - ระดับเชี่ยวชาญ - ระดับชำนาญการ - ระดับปฏิบัติการ ทั้ง 3 ประเภทอาจมีตำแหน่งอื่นที่ ก.พ.อ.กำหนด
ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา การเทียบตำแหน่งเพื่อปรับระบบบริหารงานบุคคล ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษาทั้ง 3 ประเภทเทียบกับตำแหน่งใด ของ ก.พ.เดิม ตำแหน่งของ ก.พ.เดิมได้ปรับเป็นตำแหน่งใหม่ประเภทใด การรับเงินเดือน และเงินประจำตำแหน่งแต่ละประเภทใหม่
การปรับระบบบริหารงานบุคคลของ ก.พ. จัดกลุ่มประเภทข้าราชการ ตามลักษณะงาน 4 ประเภท บัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง - บัญชีเงินเดือนไม่มีขั้นเป็นแบบช่วงอัตราเงินเดือนขั้นต่ำ และขั้นสูง4 บัญชี - ระบบการเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นเปอร์เซ็นต์ตามผลการ ปฏิบัติงานและความสามารถ - บัญชีเงินประจำตำแหน่ง 4 บัญชี การบรรจุแต่งตั้งต้องทำให้เสร็จภายในวันที่ 24 ตุลาคม 2551
กำหนดตำแหน่ง 4 ประเภทไว้ ดังนี้ ประเภทบริหาร ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ รองหัวหน้าส่วนราชการ ระดับกระทรวง กรม มี 2 ระดับ ดังนี้ - ระดับต้น - ระดับสูง ประเภทอำนวยการ ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการ ต่ำกว่ากรม มี 2 ระดับ ดังนี้
กำหนดตำแหน่ง 4 ประเภทไว้ดังนี้ (ต่อ) ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา มี 5 ระดับ ดังนี้ - ระดับปฏิบัติการ - ระดับชำนาญการ - ระดับชำนาญการพิเศษ - ระดับเชี่ยวชาญ - ระดับทรงคุณวุฒิ
กำหนดตำแหน่ง 4 ประเภทไว้ดังนี้ (ต่อ) ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ประเภทบริหาร ประเภทอำนวยการ ประเภทวิชาการ มี 4 ระดับ ดังนี้ - ระดับปฏิบัติงาน - ระดับชำนาญงาน - ระดับอาวุโส - ระดับทักษะพิเศษ
โครงสร้างบัญชีเงินเดือน - มี 4 บัญชี - กำหนดอัตราเงินเดือนขั้นต่ำและขั้นสูง - การรับเงินเดือนกำหนดในกฎ ก.พ. โครงสร้างบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่ง - ก.พ. วางหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการรับเงินประจำ ตำแหน่ง - การรับเงินประจำตำแหน่ง กำหนดในกฎ ก.พ. การปรับบัญชีเงินเดือนและบัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่ง - ปรับไม่เกินร้อยละสิบ - ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือน ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร 66,480 53,690 21,000 14,500 10,000 ระดับสูง 64,340 48,700 28,550 ระดับต้น 23,230 ระดับสูง ระดับต้น เงินประจำตำแหน่ง บัญชีเงินเดือน ขั้นต่ำชั่วคราว
โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือน (ต่อ) ตำแหน่งประเภทอำนวยการ 59,770 31,280 50,550 25,390 ระดับสูง 10,000 5,600 23,230 18,910 ระดับต้น ระดับสูง ระดับต้น บัญชีเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ขั้นต่ำชั่วคราว
โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือน (ต่อ) ตำแหน่งประเภทวิชาการ 66,480 41,720 59,770 29,900 ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ 15,600 13,000 9,900 5,600 3,500 50,550 21,080 28,550 36,020 14,330 23,230 ทรงคุณวุฒิ 22,220 7,940 เชี่ยวชาญ 18,910 12,530 ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ 6,800 ปฏิบัติการ บัญชีเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ขั้นต่ำชั่วคราว
โครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือน (ต่อ) ตำแหน่งประเภททั่วไป 9,900 59,770 48,220 ทักษะพิเศษ 47,450 15,410 33,540 10,190 ทักษะพิเศษ เงินประจำ ตำแหน่ง 18,910 4,630 อาวุโส ชำนาญงาน บัญชีเงินเดือน ปฏิบัติงาน
สรุปการปรับระบบบริหารงานบุคคลของ ก.พ. ประเภทบริหาร ประเภทอำนวยการ ประเภทวิชาการ ประเภททั่วไป 66,480 53,690 (28,550) 66,480 41,720 (28,550) 59,770 29,900 (23,230) 36,020 14,330 (12,530) 22,220 7,940 (6,800) 50,550 21,080 (18,910) ซี 10,11 ซี 9 ซี 8 ซี 6,7 ซี 3-5 ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ปฏิบัติการ ระดับสูง ระดับต้น ซี 10,11 ซี 9 64,340 48,700 (23,230) ระดับ สูง ระดับ ต้น 59,770 31,280 (23,230) 50,550 25,390 (18,910) ซี 9 ซี 8 59,770 48,220 ทักษะพิเศษ อาวุโส ชำนาญงาน ปฏิบัติงาน ซี 7,8 ซี 5,6 ซี 1-4 47,450 15,410 33,540 10,190 18,910 4,630 ( ) ขั้นต่ำชั่วคราว
การรับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาปัจจุบัน □ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ศ. 11 เงินเดือน 64,340 ศ. 11 ศ. 10 59,770 23,230 15,600 13,000 9,900 5,600 3,500 50,550 15,410 ศ. 9-10 รศ. 9 47,450 12,530 ศ. 9-10,11 33,540 6,800 รศ. 7-8 รศ.ระดับ 7-9 ผศ. 8 ผศ.ระดับ 6-8 ผศ.6-7 อ.ระดับ 3-7
การรับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาปัจจุบัน (ต่อ) □ ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร (เลขานุการคณะ กอง หรือเทียบเท่า หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี) เงินประจำตำแหน่ง เงินเดือน 50,550 23,230 10,000 5,600 ระดับ 9 47,450 18,910 33,540 15,410 ระดับ 8 ระดับ 9 ระดับ 8 ระดับ 7
การรับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาปัจจุบัน (ต่อ) □ ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ เงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง 59,770 29,550 13,000 9,900 5,600 3,500 วช. ชช.10 50,550 23,230 วช. ชช.9 47,450 12,530 เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ซี 7 33,540 27,500 6,800 เชี่ยวชาญระดับ 9 วช. 8 ซี 6 ชำนาญการ ระดับ 6,7-8 วช. 7 ซี 5 22,220 4,630 ปฏิบัติการระดับกลาง ซี 1 ปฏิบัติการระดับต้น
แนวคิดการเทียบตำแหน่งเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง กับของ ก.พ. ใหม่ แนวคิดการเทียบตำแหน่งเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง กับของ ก.พ. ใหม่ ตำแหน่งประเภทวิชาการ - เทียบเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาการ (ก.พ.) ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร ได้แก่ ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี/สำนักงานวิทยาเขต/ ผู้อำนวยการกอง และเลขานุการคณะ หรือเทียบเท่า - เทียบเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งประเภทอำนวยการ ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ - เทียบเงินเดือนประเภทวิชาการ และทั่วไป (ก.พ.) - เงินเดือนในระหว่างช่วงขั้นต่ำและชั้นสูงของแต่ละ ตำแหน่งเทียบประเภทวิชาการ (ก.พ.) - เงินประจำตำแหน่งเทียบประเภทวิชาการ (ก.พ.)
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ของ ก.พ. ตำแหน่งวิชาการ ก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ. 66,480 41,720 (28,550) 59,770 29,900 (23,230) 50,550 21,080 (18,910) 36,020 14,300 (12,530) 22,220 7,940 (6,800) 64,340 59,770 22,230 50,550 15,410 47,450 12,530 33,540 6,800 ศ. 11 (เดิม) ซี 10 ซี 11 ซี 9 ซี 8 ซี 6 ซี 7 ซี 3 - 5 ทรงคุณวุฒิ ศ. 9-10 เชี่ยวชาญ รศ. 7-9 ชำนาญการ พิเศษ ผศ. 6-8 อ. 3-7 ชำนาญการ ปฏิบัติการ ( ) หมายถึง อัตราขั้นต้นชั่วคราว
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ของ ก.พ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ. (เดิม) ซี 11 15,600 13,000 9,900 5,600 3,500 15,600 13,000 9,900 5,600 3,500 ศ. 11 ทรงคุณวุฒิ ซี 10 ศ. 9-10 รศ. 9 เชี่ยวชาญ ซี 9 รศ.7- 8 ชำนาญการ พิเศษ ซี 8 ผศ. 8 ผศ. 6-7 ชำนาญการ ซี 7
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ของ ก.พ. ตำแหน่งประเภทบริหาร ก.พ.อ. ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผู้อำนวยการกอง เลขานุการคณะหรือเทียบเท่า ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ก.พ. (เดิม) ซี 9 บส ซี 8 บก 50,550 23,230 47,450 18,910 33,540 15,410 59,770 31,280 (23,230) 50,550 25,390 (18,910) ระดับสูง ระดับ 9 ระดับ 8 ระดับต้น ระดับ 7 ( ) หมายถึง อัตราขั้นต้นชั่วคราว
การเทียบเงินประจำตำแหน่งปัจจุบันกับเงินประจำตำแหน่งใหม่ ก.พ. ตำแหน่งประเภทบริหาร ก.พ.อ. ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี เลขานุการคณะ ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า ตำแหน่งประเภทอำนวยการ 10,000 5,600 10,000 5,600 (เดิม) ซี 9 ระดับ 9 ระดับสูง ระดับ 8 ระดับต้น ซี 8
การเทียบเงินเดือนปัจจุบันกับบัญชีเงินเดือนใหม่ ก.พ. ตำแหน่งทั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ ก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ/ทั่วไป ก.พ. เชี่ยวชาญพิเศษ 66,480 41,720 (28,550) 59,770 29,900 (23,230) 50,550 21,080 (18,910) 36,020 14,330 (12,530) 7,940 – 22,220 (6,800) 4,630 – 18,910 59,770 28,550 50,550 23,230 47,450 15,410 27,500 12,530 7,940-27,500 ,33,540 4,630-22,220 (เดิม) ซี 10 ,ซี 11 ซี 9 ซี 8 ซี 6 - 7 ซี 3 - 5 ซี 1 - 4 ทรงคุณวุฒิ ซี 10 เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ ซี 9 ชำนาญการ พิเศษ ชำนาญการ ซี 7-8 ชำนาญการ ชำนาญการ ซี 6 ปฏิบัติการ ซี 3 - 6,7 ปฏิบัติการ ซี 1 - 5 ( ) หมายถึง อัตราขั้นต่ำชั่วคราว
ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ การเทียบเงินประจำตำแหน่งปัจจุบัน และเงินประจำตำแหน่งใหม่ ก.พ. ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ ตำแหน่งประเภทวิชาการ (เดิม) ซี 11 เชี่ยวชาญพิเศษ 13,000 9,900 5,600 3,500 15,600 13,000 9,900 5,600 3,500 ทรงคุณวุฒิ ซี 10 ซี 10 เชี่ยวชาญ ซี 9 เชี่ยวชาญ ซี 9 ชำนาญการ ชำนาญการ พิเศษ ซี 8 ซี 8 ชำนาญการ ซี 7 ชำนาญการ ซี 7
สรุป โครงสร้างตำแหน่ง การรับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตำแหน่งวิชาการ ตำแหน่งประเภทบริหาร 64,340 59,770 22,230 50,550 15,410 47,450 12,530 33,540 6,800 ศ. 11 เชี่ยวชาญพิเศษ 59,770 28,550 50,550 23,230 47,450 15,410 27,500 12,530 7,940-27,500,33,540 4,630-22,220 ซี 10 ศ. 9-10 50,550 23,230 47,450 18,910 33,540 15,410 เชี่ยวชาญ รศ. 7-9 ระดับ 9 ซี 9 ชำนาญการ ผศ. 6-8 ระดับ 8 ซี 7-8 ชำนาญการ อ. 3-7 ระดับ 7 ซี 6 ซี 3-6,7 ปฏิบัติการ ซี 1-5
การเตรียมเพื่อปรับจากระบบซีสู่ระบบแท่ง สำรวจตำแหน่งปัจจุบัน เพื่อปรับเข้าสู่ตำแหน่ง 3 ประเภท - ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. - ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผู้อำนวยการกอง เลขานุการคณะหรือเทียบเท่า - ตำแหน่งปฏิบัติการ ชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ - ตำแหน่งหัวหน้างาน สำรวจเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง - เงินเดือนเต็มขั้น - เงินประจำตำแหน่ง ที่มี 2 อัตราในตำแหน่งเดียวกัน - เงินเดือนที่รับสูงกว่าตำแหน่ง