รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ตารางสรุปผลการประเมินรายองค์ประกอบ องค์ประกอบปี2551ปี2552 1) ปรัชญา ปณิธาน4.33 2) การเรียนการสอนฯ ) กิจกรรมนักศึกษาฯ ) วิจัย ) บริการวิชาการ ) ศิลปวัฒนธรรม5.00 7) การบริหาร ) การเงิน5.00 9) ประกันคุณภาพ ค่าน้ำหนัก 9 องค์ประกอบ
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิต ข้อด้อย – จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำภายใน 1 ปี (44.19% 50%) - จำนวนอาจารย์ที่ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (100% 85.71%) - ร้อยละของวิทยานิพนธ์ที่ตีพิมพ์มีจำนวนน้อย (33.33% 50%) - ร้อยละสารนิพนธ์ที่ตีพิมพ์มีจำนวนน้อย
พัฒนา - ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และ สิ่งสนับสนุน (4.39% 4.43%) - ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำตรงสาขา (46.81% 68.03%) - ร้อยละของนักศึกษา ป.ตรี ที่จบภายใน 4 ปี (38.18% 80.56%) - ร้อยละของนักศึกษาบัณฑิตต่อนักศึกษาทั้งหมด (38.85 % %) - ร้อยละของนักศึกษาบัณฑิตที่ทำวิทยานิพนธ์ (72.13% 45.00%) องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิต (ต่อ)
องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา ข้อด้อย – ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมต่อจำนวน นักศึกษาทั้งหมด (137.50% 62.87%) มีจำนวนน้อย - ประสิทธิผลการปฏิบัติตามคุณธรรม จริยธรรม วินัย นักศึกษา (100.00% 98.68%)
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ข้อด้อย - เงินสนับสนุนต่อจำนวนผู้ทำวิจัย (ประมาณ 200,000 ประมาณ 160,000) - ร้อยละของอาจารย์+นักวิจัยที่ได้รับทุน (87.50% 71.43%) - ร้อยละของงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร (100.00% 71.43%)
พัฒนา - ร้อยละของงานวิจัยที่ตีพิมพ์หรือนำไปใช้ประโยชน์ ต่อจำนวนอาจารย์และนักวิจัย (112.50% %) - ร้อยละของอาจารย์+นักวิจัยที่ Active (100.00% %) องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย
ข้อด้อย – ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ ที่ตอบสนองความต้องการของสังคม (475.00% %) พัฒนา – ร้อยละของอาจารย์ที่ให้บริการแก่สังคม เป็นที่ ปรึกษา กรรมการ นอกสถาบัน (25.00% 42.86%) องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม
ข้อด้อย – ร้อยละของอาจารย์ที่เข้าร่วมประชุมวิชาการ/ นำเสนอผลงานทั้งในและต่างประเทศ (87.50% 57.14%) – ร้อยละของสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพทั้งในและต่างประเทศ (100.00% 75.00%) องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี ผลกระทบจากการเกษียณอายุของอาจารย์ใน ภาคอย่างต่อเนื่องและการรับอาจารย์ใหม่ที่ไม่ สอดคล้องในด้านเวลา 2.จำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีและคุณภาพ ของนักศึกษาในด้านวิชาการที่อ่อนลง 3.ความพยายามพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิด ประสิทธิภาพมากขึ้น (ผู้เรียนพอใจ ผลการสำเร็จ การศึกษาเป็นไปตามเป้าหมาย)
4. จำนวนบุคลากรของภาคฯ มีน้อย และเป็นบุคลากร ใหม่ ต้องการเวลาในการสะสมประสบการณ์ (ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน) ทำให้ต้อง ใช้เวลาในการจัดการมากขึ้น 5. ภาระงานในบางด้านมากขึ้น ทำให้มีโอกาสพัฒนา งานด้านอื่นน้อยลง ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2552 (ต่อ)
ขอขอบคุณ