Lesson 5 Place
กระบวนการเคลื่อนย้าย Distribution or Place ผู้ผลิต ผู้บริโภค กระบวนการเคลื่อนย้าย
โครงสร้างของช่องทาง (สถาบันการตลาด) การจัดจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ ผู้บริโภค โครงสร้างของช่องทาง (สถาบันการตลาด) - คนกลาง - ธุรกิจกระจายตัวสินค้า - ธุรกิจให้บริการทางการตลาด - สถาบันทางการเงิน
ทำไมจึงต้องมีการใช้ คนกลางทางการตลาด ?
จำนวนการติดต่อโดยไม่มีผู้แทนจำหน่าย M x C =3 x 3 =9 1 2 3 4 5 6 7 8 9 จำนวนการติดต่อโดยไม่มีผู้แทนจำหน่าย M x C =3 x 3 =9
จำนวนการติดต่อโดยใช้ผู้แทนจำหน่าย M + C =3+3 =6 1 4 2 5 6 3 จำนวนการติดต่อโดยใช้ผู้แทนจำหน่าย M + C =3+3 =6
หน้าที่ของช่องทางการจัดจำหน่าย Negotiation Physical distribution Financial Risk taking Information Promotion Contact Matching
จำนวนของระดับช่องทางการจัดจำหน่าย
ช่องทางการจัดจำหน่ายของผู้บริโภค consumer ผู้ผลิต Manufacturer ผู้บริโภค consumer ผู้ผลิต Manufacturer ผู้ค้าปลีก retailer ผู้บริโภค consumer ผู้ผลิต Manufacturer ผู้ค้าปลีก retailer ผู้ค้าส่ง wholesaler ผู้บริโภค consumer ผู้ผลิต Manufacturer ผู้ค้าปลีก retailer ผู้ค้าส่ง wholesaler ผู้ค้าส่งอิสระ jobber
ช่องทางการจัดจำหน่ายของธุรกิจ/อุตสาหกรรม ผู้ใช้ทางอุตฯ Industrial User ผู้ผลิต Manufacturer ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์อุตฯ Industrial distributor ผู้ผลิต Manufacturer ผู้ใช้ทางอุตฯ Industrial User ผู้ผลิต Manufacturer ผูใช้ทางอุตฯ Industrial User ตัวแทนของผู้ผลิต Manufacturer’s representativer ผู้ผลิต Manufacturer ตัวแทนของผู้ผลิต Manufacturer’s representativer ผู้ใช้ทางอุตฯ Industrial User ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์อุตฯ Industrial distributor
การจัดองค์การของช่องทางการจัดจำหน่าย ระบบการตลาดในแนวดิ่ง Vertical channel ช่องทางการตลาดแบบดั้งเดิม (convention channel) ช่องทางการตลาดในแนวตั้ง (vertical marketing system) ระบบตลาดแบบแนวนอน Horizontal channel ระบบตลาดแบบผสมผสาน Hybrid marketing channel
ช่องทางการตลาดแบบดั้งเดิมกับระบบการตลาดในแนวตั้ง ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค ผู้บริโภค ช่องทางการตลาดแบบดั้งเดิมกับระบบการตลาดในแนวตั้ง
แคตตาล็อค โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต ช่องทางการตลาดแบบผสมผสาน ผู้บริโภค 1 แคตตาล็อค โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค 2 ผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่าย พ่อค้า ผู้บริโภค 3 พนักงาน ผู้บริโภค 4 ช่องทางการตลาดแบบผสมผสาน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดจำนวนระดับของช่องทางการจัดจำหน่าย 1. พิจารณาด้านตลาด (Market consideration) ตลาดผู้บริโภคและตลาดอุตสาหกรรม จำนวนของลูกค้าผู้คาดหวัง การรวมกลุ่มกันทางภูมิศาสตร์ของตลาด ขนาดของคำสั่งซื้อ
2. การพิจารณาด้านผลิตภัณฑ์ (Product considerations) ผลิตภัณฑ์บริโภคและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มูลค่าต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ ลักษณะทางเทคนิคของผลิตภัณฑ์ การเน่าเสียง่ายหรือความล้าสมัยของผลิตภัณฑ์
3. การพิจารณาด้านคนกลาง (Middleman considerations) การให้บริการของคนกลาง ความสามารถในการหาคนกลางที่ต้องการ ทัศนคติของคนกลางที่มีต่อนโยบาย
4. การพิจารณาด้านบริษัท (Company consideration) ฐานะการเงินของบริษัท ความสามารถในการบริหาร ความต้องการในการควบคุมช่องทาง บริการที่ผู้ขายต้องจัดหาให้
การกระจายสินค้าและการจัดการ การส่งกำลังทางธุรกิจ The right product to the right customer in the right place and the right time
ผู้ขายวัตถุดิบ (Suppliers) ผู้ผลิต (Producer) ผู้ค้าส่ง (Wholesalers) ผู้ขายวัตถุดิบ (Suppliers) Distributors ลูกค้า (Customer) ผู้ค้าปลีก (Retails)
เป้าหมายของระบบการส่งกำลังทางธุรกิจ ?
หน้าที่หลักของการส่งกำลังทางธุรกิจ Order processing Warehousing Inventory management Transportation
Order processing
Warehousing
Distribution center
Transportation
Logistics การดำเนินงานที่รวบรวมเอากิจกรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดหา, การเคลื่อนย้าย, การจัดเก็บและการจัดส่งสถานะทั้งหมดของสินค้าที่ทำการผลิต โดยมีการบริหารและการบริหารข้อมูลเป็นปัจจัยสนับสนุน
องค์ประกอบที่ Logistics มีบทบาท ผู้จัดส่งวัตถุดิบ ผู้กระจายสินค้า การผลิต ลูกค้า การไหลของวัตถุดิบ (เพิ่มคุณค่าให้กับวัตถุดิบ) การจัดการด้านเวลา,สถานที่ของวัตถุ ที่จะเคลื่อนที่ผ่านไปยัง ส่วนต่าง ๆ พิจารณาเพียงเฉพาะภายในองค์การ
Supply chain management การประสานรวมกระบวนการทางธุรกิจที่ครอบคลุมจากผู้จัดส่งวัตถุดิบ ผ่านระบบธุรกิจอุตสาหกรรม ไปสู่ผู้บริโภคขั้นสุดท้าย ซึ่งมีการส่งผ่านผลิตภัณฑ์การบริการและ ข้อมูลสารสนเทศควบคู่กันไปเป็นการสร้างคุณค่าเพิ่มในตัวผลิตภัณฑ์และนำเสนอสู่ผู้บริโภคขั้นสุดท้าย ครอบคลุมทั่วถึงตลอดระบบอุตสาหกรรม
Supply chain management ตลาด ผู้ซื้อ บริเวณ บ้าน แปลงผัก สวนครัว Logistics ระหว่างองค์การ Logistics
การค้าปลีกและการค้าส่ง Retailing&Wholesaling
ประเภทของผู้ค้าปลีก จำนวนบริการที่เสนอ ผู้ค้าปลีกบริการตนเอง self-service retailers ผู้ค้าปลีกแบบให้บริการแบบจำกัด limited-service retailers ผู้ค้าปลีกแบบให้บริการอย่างเต็มรูปแบบ ค้าปลีก
สายผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก Specialty stores Department stores Supermarket Convenience stores Super stores
Specialty stores
Department stores
Supermarket
Convenience stores
Super stores
ความสัมพันธ์ทางด้านราคา Discount stores Off-price Retailers
องค์กรค้าปลีก Chain stores Franchise
Wholesaling
ทำไมผู้ผลิตจึงใช้บริการกับผู้ค้าส่ง การขายและการส่งเสริมตลาด (Selling and promotion) การซื้อและการสร้างความหลากหลายของสินค้า (Buying and assortment building) การซื้อปริมาณมากแล้วแบ่งขาย (Bulk - breaking) คลังสินค้า (Warehousing)
ทำไมผู้ผลิตจึงใช้บริการกับผู้ค้าส่ง การขนส่ง (Transportation) การเงิน (Financing) การรับภาระความเสี่ยง (Risk bearing) ข้อมูลทางการตลาด (Market information) การบริการด้านการจัดการและให้คำปรึกษา (Management services and advice)
ประเภทของกิจการค้าส่ง Manufactures Owned Wholesaling Independent Wholesaling Retailer Owned Wholesaling
ประเภทของผู้ค้าส่ง Merchant wholesalers Broker and agent Dealer / Distributor
Full -Function Wholesalers General Merchandise Wholesaler Single line Wholesalers Specialty Wholesalers
Limited - Function Wholesalers Cash and Carry Wholesaler Drop shipper or Desk Jobber Wagon or Truck Wholesaler
Dealer / Distributor Agent Middlemen Selling Agents Manufacturer Agents Broker Dealer / Distributor