อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกดิษฐ เกิดโภคา วรรณาภรณ์ เทียรท้าว สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
Advertisements

อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
การเขียนรายงานการประชุม
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
ระบบเตือนการนัดหมาย ทางการแพทย์
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
Thai-Tiny ERP นางสาว รัตติกาล สุวรรณธาดา
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
1. นายธนวัฒน์ กันพานิชย์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
COE การจัดทำพจนานุกรมข้อมูลและ เชื่อมโยงกับระบบรายงานของ ระบบบูรณาการฐานข้อมูล มหาวิทยาลัยขอนแก่น นางสาวพรรณวดี ฝางแก้ว รหัส นายอาทิตย์ จันทะรี รหัส.
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
การพัฒนาระบบควบคุมเครื่องหยอดเหรียญสำหรับเพิ่มสิทธิ์ในการพิมพ์
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น Development of Customer Relationship Management System for Khon Kaen University นายจักรพงษ์
โดย นางสาวมุทิตา พลอยน้อย นางสาววีรยา เจริญกุล
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
โปรแกรมช่วยผู้ปกครองติดตาม ตำแหน่งของบุตรหลาน
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มองไม่เห็นก็เรียนได้
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
โครงการพัฒนาคุณภาพ ปี 2554
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
โครงการ LDAP เฟส 2 ผู้นำเสนอ นายมหาราช ทศศะ
รูปแบบและแนวคิดสารสนเทศกับระบบการศึกษา
การลงทะเบียนเพื่อใช้งานครั้งแรก
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
Google Application โดย บรรพต พิจิตรกำเนิด
การใช้ Google App เพื่อสร้างเครือข่าย
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง รอบรู้เรื่องอาเซียน
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
“ประเมินสมรรถนะ Online”
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
ทางเลือกใหม่ ของ การตรวจสอบสิทธิ.
โครงการ ส่งเสริมการหารายได้ระหว่างเรียน
การเขียนรายงาน.
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
นำเสนอโดย นายวันชัย แซ่ลิ่ม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
การเขียนรายงานการวิจัย
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Program for sending SMS to group of mobiles via Web Service Developers 1.Ms.La-or-si Jaichuen Ms.Sirirat Buddee COE
รายละเอียดโครงการโดยสังเขป หลักการและเหตุผล
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
1 ซอฟท์แวร์ที่ น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวรัชดา ณรงค์ ns B06.
ระบบบริการเกรดออนไลน์
ระบบทะเบียนเว็บเซอร์วิสสาธารณะแห่งประเทศไทยแบบเว็บ 2.0
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
+ B aby H ealth J ournal on iOS (COE ) Ms.Chittrawan Phruekphaisan Mr.Tanawat Polsuwan Asst. Prof. Dr. Kanda Saikeaw Asst.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ระบบจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management System)
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน หมายเลขโครงการ COE2009-07 บริการปฏิทินและตารางนัดหมายภาษาไทย Thai Shared Calendar and Event Schedules Service อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.กานดา สายแก้ว อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน รศ.วนิดา แก่นอากาศ รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช ผู้จัดทำ 1. นางสาวมณฑิรา ทิพย์โชติ รหัส 493040170-6 2. นางสาวจุฬีลักษณ์ พละมาตย์ รหัส 493041122-2

หัวข้อนำเสนอ วัตถุประสงค์และขอบเขตของโครงการ แผนการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ประโยชน์ที่ได้รับ สรุปผลการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ

วัตถุประสงค์ของโครงการ ศึกษาโอเพนซอร์สและแก้ไขโค้ดของโอเพนซอร์สตามความ ต้องการของตนได้ พัฒนาในส่วนของการเข้าระบบโดยใช้ LDAP (Lightweight Directory Access Protocol) ได้ พัฒนาปฏิทินและตารางนัดหมายเพื่อให้ใช้งานได้จริงระหว่าง บุคคลในองค์กรเดียวกัน

ขอบเขตของโครงการ มีระบบการลงทะเบียนเข้าใช้ โดยบุคลากรในองค์กร มีระบบการลงทะเบียนเข้าใช้ โดยบุคลากรในองค์กร มีการแจ้งเตือนวันสำคัญต่างๆ สามารถใช้งานร่วมกันได้สำหรับกลุ่มบุคคลที่ผู้ใช้ต้องการ สามารถค้นหาข้อมูลจากคำสำคัญได้

แผนการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน Zimbra ที่เป็นภาษาไทย รูปที่ 1 Zimbra ภาษาไทย

ผลการดำเนินงาน ทดลองใช้งาน Zimbra รูปที่ 2 ทดลองใช้งาน zimbra

ผลการดำเนินงาน ทดลองใช้งานร่วมกับ Google Calendar

ผลการดำเนินงาน เชื่อมต่อกับ LDAP ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น กำหนดค่า LDAP filter : (uid=%u) , LDAP search base : o=kku

ผลการดำเนินงาน ตรวจสอบการใช้งานว่าสามารถใช้งานร่วมกันได้หรือไม่ รูปที่ 5 ตรวจสอบการใช้งานของ LDAP

ผลการดำเนินงาน การเชื่อมต่อสำเร็จและใช้งาน LDAP ได้ รูปที่ 6 การเชื่อมต่อสำเร็จ

ปัญหาและแนวทางการแก้ไข ปัญหาในการใช้งาน LDAP เมื่อเข้าใช้งานจริงโดยการใส่ชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่าน ไม่สามารถเข้าใช้งานได้ แนวทางการแก้ไข แก้ปัญหาโดยการนำเข้าไฟล์ผู้ใช้งานจากภายนอก ตามกำหนดรูปแบบของ Zimbra

ปัญหาและแนวทางการแก้ไข ปัญหาการนำเข้าปฏิทิน Google เมื่อทำการติดตั้ง Zimbra ที่ server เรียบร้อยแล้ว ได้ทดสอบนำเข้าปฏิทินของ Google แต่ไม่สามารถนำเข้าได้ โดยมีข้อความเตือนว่า ไม่รู้จัก URL แนวทางการแก้ไข จะต้องมีการตั้งค่า proxy ให้กับ zimbra จึงสามารถนำเข้าปฏิทิน Google ได้

วีดีโอสาธิตการใช้งาน

ประโยชน์ที่ได้รับ ช่วยทำให้การนัดหมายพบปะสังสรรค์หรือประชุมร่วมกัน ทำได้ง่ายและรวดเร็ว ส่งเสริมการใช้โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์หรือการใช้ซอฟต์แวร์ ที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ ช่วยลดปริมาณกระดาษและเวลาในการนัดหมายระหว่าง บุคคล

สรุปผลการดำเนินการ มีระบบบริการปฏิทินและตารางนัดหมายภาษาไทย สามารถใช้ชื่อผู้ใช้งานและรหัสผ่านเดียวกับอีเมลของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ เหมาะที่จะนำไปใช้งานกับงานที่เป็นองค์กร

ข้อเสนอแนะ Zimbra เป็นโอเพนซอร์สซึ่งสามารถนำไปใช้งานและ พัฒนาต่อยอดได้อย่างเสรี พัฒนาให้มีการแจ้งเตือนได้หลายช่องทาง

Q & A Thank you