งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖ ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

2 1.เพื่อสนับสนุนคณะกรรมการให้สามารถดำเนิน
พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสนับสนุนคณะกรรมการให้สามารถดำเนิน กิจกรรมการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับชุมชน 3.เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณ์แบบ อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง 4.เพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2555

3 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖
กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ ศรช.บ้านลำพญาไม้ หมู่ ๙ ตำบลบัวชุม อำเภอชัยบาดาล โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณแบบ อำเภอดำเนินการ ดังนี้ ๑. อำเภอร่วมกับคณะกรรมการ ศรช.จัดเวทีประชาคม เพื่อขับเคลื่อน ศรช. จำนวน 2 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง ศรช. จำนวน 2๐ คน เนื้อหา ประกอบด้วย

4 ทบทวนการดำเนินงาน ศรช.
กำหนดเป้าหมายรูปแบบและแผนปฏิบัติการในการดำเนินงาน ศรช.ไปสู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ จนท.จังหวัด/อำเภอเป็นที่ปรึกษา สรุปผลการจัดเวทีและประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบ ผ่านช่องทางที่เหมาะสม 2. พัฒนา ศรช.ตามแผนปฏิบัติการ เพื่อให้ ศรช.มีคุณลักษณะตามองค์ประกอบดังนี้

5 กับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่นๆ
๑. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่น มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ กิจกรรมความร่วมมือในการจัดการความรู้ระหว่างศูนย์เรียนรู้ชุมชน กับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่นๆ ทั้งในและนอกตำบล

6 ๒. มีการวางระเบียบการให้บริการบุคคลภายนอกชุมชน
มีการออกระเบียบการให้บริการ ของศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อรองรับ การให้บริการสื่อ/เอกสาร/องค์ความรู้/กิจกรรม/วิทยากร หรืออื่นๆ แก่บุคคลภายนอกชุมชนตามที่คณะกรรมการ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเห็นสมควร

7 ๓. มีกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันภายในชุมชน
มีกิจกรรมนำองค์ความรู้ด้านต่างๆที่ผ่านการจัดการโดยคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนมาเผยแพร่/ถ่ายทอดหรือแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายใต้การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน อย่างสม่ำเสมอ

8 มีการกำหนด(ปฏิทินกิจกรรม) ที่ชัดเจนเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน
๔. มีการจัดทำปฏิทินกิจกรรมการเรียนรู้ มีการกำหนด(ปฏิทินกิจกรรม) ช่วงเวลาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ร่วมกันและดำเนินการตามปฏิทินของคนในชุมชนหรือกับบุคคล องค์กรภายนอกชุมชน ที่ชัดเจนเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน

9 มีการจัดกิจกรรมหรือเวทีชุมชนในการ
5. มีการจัดกิจกรรมสร้างองค์ความรู้ใหม่ของชุมชน มีการจัดกิจกรรมหรือเวทีชุมชนในการ พัฒนาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือกิจกรรมการต่อยอดความรู้ในชุมชน เช่น ร่วมกันคิดค้นนวัตกรรม/กิจกรรมหรือเครื่องมือใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาในชุมชนการวิจัยชุมชนโดยชุมชน ฯลฯ

10 มีการจัดทำแผนการนำความรู้ของชุมชน
6. มีการวางแผนเพิ่มค่าองค์ความรู้ของชุมชน มีการจัดทำแผนการนำความรู้ของชุมชน ไปเพิ่มค่า สร้างราคา ขายความรู้ได้ เช่น จัดทำหลักสูตรฝึกอบรม/จัดทำหนังสือ สิ่งพิมพ์ ออกจำหน่ายหรือจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา/วิทยากรชุมชน

11 3. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
คณะกรรมการ ศรช.ร่วมกันจัดกิจกรรม ถอดบทเรียนองค์ความรู้ที่จำเป็น/สำคัญ/โดดเด่น ภายในชุมชน จำนวน 2 เรื่อง เช่น องค์ความรู้การแก้ปัญหาในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญ เทคนิคหรือบทเรียนการปฏิบัติที่ดีของผู้นำ กลุ่มองค์กร เครือข่าย หรือชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ และนำ องค์ความรู้ที่ได้มาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ร่วมกันในชุมชน

12 4. จัดมุมเผยแพร่องค์ความรู้ชุมชน
จัดทำสื่อและอื่นๆ เพื่อเผยแพร่ จัดทำเป็นนิทรรศการย่อยเผยแพร่ใน ศรช. 5. จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 ถอดบทเรียนจัดทำ เป็นรูปเล่ม จำนวน 1 เล่ม โดยมีประเด็นดังนี้

13 ส่วนที่ ๑ ภูมิหลัง (ประวัติศาสตร์ความเป็นมา
ของหมู่บ้าน) ส่วนที่ ๒ การก่อเกิดศูนย์เรียนรู้ชุมชน ส่วนที่ ๓ โครงสร้างการบริหารจัดการและ ผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 4 กระบวนการ/วิธีการในการพัฒนา ศรช สู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ ส่วนที่ 5 บทเรียนที่ดีและปัจจัยความสำเร็จ ส่วนที่ 6 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา ศรช.

14 ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 กรอกข้อมูล
ตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 1๕ กรกฎาคม 2556


ดาวน์โหลด ppt ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google