การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม
1. หัวข้อเรื่อง การแก้สมการที่เกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขฐาน เหมือนกันแต่เลขชี้กำลังต่างกัน การแก้สมการที่เกี่ยวกับเลขยกกำลังที่มีเลขฐานไม่ เหมือนกันแต่เลขชี้กำลังเท่ากัน 2. สาระสำคัญ สมการที่เกี่ยวกับเลขยกกำลัง เป็นสมการที่มีตัวแปรหรือ ค่าที่ต้องการหาจะเป็นเลขยกกำลังที่มีเลขฐานเป็นจำนวนเต็ม และเลขฐานที่เป็นตัวพยัญชนะภาษาอังกฤษ 3. สมรรถนะหลัก (มาตรฐานการปฎิบัติงาน) นักเรียนรู้ความหมายของเลขยกกำลังและนำไปใช้ในการทำงานได้
ในการแก้สมการจะใช้สมบัติดังนี้
สมรรถนะที่พึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ เจตคติ จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ) (ความรู้ ทักษะ เจตคติ จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ) - ด้านความรู้:นักเรียนสามารถ 1. แก้สมการเลขชี้กำลังที่มีฐานเหมือนกันแต่เลขชี้กำลังต่างกัน 2. แก้สมการเลขชี้กำลังที่มีเลขฐานไม่เหมือนกันแต่เลขชี้กำลังเหมือนกัน 3. หาค่าตัวแปรของเลขชี้กำลังได้ 4. รู้จักนำความรู้พื้นฐานมาใช้ในการแก้สมการได้ - ด้านทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถ 1. ในการให้เหตุผล 2. ในการสื่อสารและสื่อความหมาย - ด้านคุณลักษณะ 1. มีความรับผิดชอบ 2. มีระเบียบวินัย 3. มีความรอบคอบ 4. ใช้กระบวนการคิดเป็นขั้นเป็นตอน
กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนสมบัติบางประการของเลขยกกำลัง เช่น
กิจกรรมการเรียนรู้ (ต่อ) ขั้นสอน ครูยกตัวอย่างที่ 1ตามตารางข้างล่างนี้ แล้วสุ่มเรียกนักเรียนให้ตอบคำถามดังนี้
กิจกรรมการเรียนรู้ (ต่อ) ครูสรุปหลักเกณฑ์ ให้นักเรียน ทำความเข้าใจ เลขยกกำลังในข้อ 1 มีเลขชี้กำลังกี่ตัว ( 3 ตัว) เลขยกกำลังในข้อ 2 มีเลขชี้กำลังกี่ตัว ( 2 ตัว) เลขชี้กำลัง 3 ตัวหาผลคูณได้อย่างไร ( นำเลขชี้กำลังมาบวกกัน ) ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเขียนโจทย์พร้อมแสดงวิธีทำจำนวน 5 คน แล้วนักเรียนสรุปหลักเกณฑ์ โดยครูชี้แนะเพิ่มเติม ครูยกตัวอย่างที่ 2 บนกระดานดังนี้
กิจกรรมการเรียนรู้ (ต่อ)
ขั้นสรุป ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปถึงหลักเกณฑ์ต่างๆ ของการแก้สมการของเลขยกกำลังให้นักเรียน ทำใบงานที่ 1 1. ถ้า = แล้ว m = n ถ้ามีเลขฐานที่เหมือนกัน 2. ถ้า = แล้ว m = 0 ครูแจกใบเอกสารฝึกหัดที่ 1-2ให้นักเรียนทำเพื่อความคงทนของความรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผล 1.สังเกตจากการถาม-ตอบ 2. สังเกตจากกิจกรรมกลุ่ม 3. การตรวจเอกสารฝึกหัดที่ 1-2 4. ความซื่อสัตย์ 5.ความมีสมาธิ 6. ความสะอาดเรียบร้อยของเอกสารฝึกหัด