การจัดการความจริงทางเศรษฐกิจในแนวมานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ของความไร้อรรถประโยชน์ และความเป็นตัวบทของเศรษฐศาสตร์
เรียนเศรษฐศาสตร์จากความเป็นอื่น ศึกษาเศรษฐศาสตร์ข้ามวัฒนธรรม ศึกษาเศรษฐศาสตร์ด้วยอัตตะวิสัย ค้นหาสิ่งที่เป็นอื่นในเศรษฐศาสตร์
textual turns in anthropology (ทำไม อย่างไร) writing culture: culture is out there as social facts (เขียนวัฒนธรรม) reading culture: culture is out there as meaningful texts (อ่านวัฒนธรรม) writing/reading against culture: there is no such thing called culture, but the cultural ([ไม่]อ่าน/เขียนวัฒนธรรม)
มานุษยวิทยาเศรษกิจกับเศรษฐศาสตร์อรรถประโยชน์ Marxists political economy (Eric Wolf) structural Marxists (อานันท์ กาญจนพันธุ์) fomalist vs substantivists Malinowski: Kula ring (1922) Mauss: The Gift (1923-24) political economy vs moral economy (เช่น “ชาวนาเป็นสัตว์เศรษฐกิจหรือไม่,” Samuel Popkin และ James Scott)
เศรษฐศาสตร์ไร้อรรถประโยชน์ Georges Bataille: general economy (Accursed Share, 1949) Jean Baudrillard: symbolic value, symbolic exchange (the Mirror of Production, 1975 [Eng transl.]) Jacques Derrida: given time, the impossibility of the gift (Given Time, 1991)
เศรษฐกิจแบบครอบคลุม ไม่ใช่คลุมทั้งจุลภาคและมหภาคเท่านั้น แต่คลุมทั้งเศรษฐกิจอรรถประโยชน์และไร้อรรถประโยชน์ ทรัพยากรไม่ได้มีอยู่อย่างจำกัด แต่มีอย่างเหลือเฟือ เหมือนพระอาทิตย์ เป็นผู้ให้ที่มนุษย์รับได้ไม่มีวันหมด (economy of excess) กิจกรรมทางเศรษฐกิจมีทั้งการจำกัดและการกำจัดของเหลือเฟือ (sacrifice) การทิ้งและการทำลายในฐานะที่เป็นกิจกรรมทางเศรษกิจ ที่ไม่ได้ก่อให้เกิดการผลิต (potlatch)
เขียนเศรษฐกิจ ไร้อรรถประโยชน์ Micro: symbolic exchange (Kula, the gift) Macro: economy of desire (Europe and the People Without History: Wolf 1983; Sweetness and Power: Mintz 1985) ลุงตา-หญิงสาว: ผู้หญิง สิ่งของ และแรงงาน ในฐานะการแลกเปลี่ยนทางสัญญะของไทดำ เวียดนาม เศรษฐกิจไร้อรรถประโยชน์กับระบอบอาณานิคมในเวียดนาม
อ่านเศรษฐกิจไร้อรรถประโยชน์ sliding price vs fixed price: Bazaar (Geertz 1979) spheres of money: Paul Bohanan (197?) สัญญะในราคา อ่านจากการต่อรองราคาใน ตลาดสดในฮานอย เวียดนามปัจจุบัน วิพากษ์แนวคิดการทำให้เป็นสินค้า เช่นแนวคิด “พุทธพานิชย์” กับการแลกเปลี่ยนเชิงสัญลักษณ์
(ไม่)อ่าน/เขียนเศรษฐกิจ คนงานห่างเหิน หมางเมินจากปัจจัยการผลิตและ แรงงานตนเอง? (June Nash 1993; Kondo 1990) สิ่งของ-สินค้ามีชีวิต (Appadurai 1986) “พี่ว่าเราเอาเปรียบชนพื้นเมือง” ความไม่สากลของ มูลค่าแลกเปลี่ยน ความฟุ่มเฟือยของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียงของเศรษฐกิจทุนนิยม เวียดนาม รัฐที่เพิ่งรู้จักเศรษฐศาสตร์ไร้อรรถ ประโยชน์: การรื้อฟื้นสิ่งฟุมเฟือยหลังนโยบายปฏิรูป
ฝากไว้คิดต่อ เรียนเศรษฐกิจจากคนอื่น เรียนความเป็นอื่นทางเศรษฐกิจ อัตตะวิสัยเพื่อการศึกษาเศรษฐกิจ