งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Theory)

2 Classical period Neoclassical period
Adam Smith : The Nation of Wealth ( 1776 ) David Ricardo : Principles of Political Economy ( 1817 ) John Stuart Mill : Principles of Political Economy ( 1848 ) Neoclassical period Alfred Marshall : Principles of Economics ( 1920 ) A.C.Pigou : The Theory of Unemployment ( 1933 )

3 เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เงินมิได้แสดงฐานะความมั่งคั่งของประเทศ ฐานะของประเทศต้องวัดด้วยปริมาณของทรัพยากรที่มีอยู่และของสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นมาได้ ปัจจัยที่แท้จริงเป็นตัวกำหนดตัวแปรที่แท้จริง ปัจจัยทางการเงินไม่มีบทบาทใดๆต่อการกำหนดตัวแปรที่แท้จริง เพราะเงินทำหน้าที่สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เศรษฐกิจดำเนินโดยเสรี ปราศจากการแทรกแซงของรัฐ

4 การกำหนดการจ้างงานและผลผลิต
Y N N1 N2

5 Marginal Physical Product of Labor
N1 N2 MPL

6 Assume : ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์
Marginal Cost = Marginal Revenue ( MC = MR ) Competitive Market : MR = P ในกรณีที่แรงงานเป็นปัจจัยเดียวที่ผันแปรได้ : MC = Marginal Labor Cost Marginal Labor Cost = อัตราค่าแรงที่เป็นตัวเงินหารด้วยผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มแรงงานหนึ่งหน่วย ( MPL )

7 ค่าแรงที่แท้จริง ( Real Wage )

8 W/P N ND

9 W/P N NS

10

11 Y N W W/P N0 NS ND (W/P)0 P P0 W0 ( W / P )0

12 การกำหนดระดับราคาสินค้า
Irving Fisher ( 1911 ) – The Equation of Exchange M : ปริมาณเงินที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ VT : จำนวนครั้งโดยเฉลี่ยที่เงินถูกใช้จ่ายในการแลกเปลี่ยนทุกชนิด อัตราการเปลี่ยนมือของเงิน ( Turnover Rate of Money ) PT : ดัชนีราคาของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด T : ดัชนีปริมาณของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด

13 อุปทานของเงินถูกกำหนดโดยธนาคารกลาง
Y P MVY อุปทานของเงินถูกกำหนดโดยธนาคารกลาง

14 การกำหนดอัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นในภาวะดุลยภาพในระยะยาวถูกกำหนดโดยปัจจัยที่แท้จริงเท่านั้น ปัจจัยดังกล่าวคือ ความมัธยัสถ์ของประชาชน ( กำหนดการออมที่แท้จริง ) และผลิตภาพของทุนเป็นเครื่องกำหนดการลงทุนที่แท้จริงในระบบเศรษฐกิจ

15 r r0 S S , I I S0 , I0

16 ตลาดทุน r r0 S S , I I S0 , I0 i i0 SF SF , IF DF SF0 , IF0

17

18 บทบาทของเงินระยะยาว การเพิ่มขึ้นในอุปทานของเงิน
การเพิ่มขึ้นในอุปทานของแรงงาน การเพิ่มขึ้นในอุปสงค์ต่อแรงงาน

19 บทบาทของเงินในระยะสั้น
ในระยะสั้นเงินมีความไม่เป็นกลาง ( Money is Nonneutral ) : การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่แท้จริงในช่วงเวลาปรับตัว เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวขึ้นๆลงๆในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เกิดวัฏจักรของธุรกิจ กลไกโดยตรง - David Hume and Richard Cantillon กลไกโดยอ้อม – Henry Thornton

20 กลไกโดยตรง ปริมาณเงินที่ประชาชนต้องการถือกับอัตราการใช้จ่าย และกับระดับทรัพย์สินหรือรายได้เป็นความสัมพันธ์ที่มีเสถียรภาพ ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเพิ่มขึ้นเกินกว่าความต้องการ จะเกิดการใช้จ่ายส่วนเกินที่ถือครองนี้ออกไป อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น มูลค่าที่แท้จริงของปริมาณเงินลดลง จนทำให้ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเท่ากับปริมาณที่ต้องการอีกครั้ง

21 Y P Y0 P0 P1 M VY M* VY

22 กลไกโดยอ้อม อธิบายโดยการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย
ระบบธนาคารพาณิชย์ – อัตรากำไรทางพาณิชย์ ( The Rate of Mercantile Profit ) – อัตราดอกเบี้ยตามธรรมชาติ ( Natural Rate of Interest ) สาเหตุที่เกิดความผันผวนในระบบเศรษฐกิจในระยะสั้น


ดาวน์โหลด ppt ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google