บทที่2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 1 อัตราส่วน.
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ตารางเปรียบเทียบ ปริมาณน้ำฝน - ปริมาณน้ำท่า กลุ่มลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโขง
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
รายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
Office of information technology
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การแจกแจงปกติ.
ดัชนี. Th ai CI MyMy MLSVPh BRBR 4. สัดส่วน ระหว่าง แรงงาน ฝีมือ และไร้ ฝีมือ 16 % (20 06) 26 % (20 07) 80 % (20 09) % (20 07) %
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
การค้นในปริภูมิสถานะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กราฟเบื้องต้น.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การค้นในปริภูมิสถานะ
กราฟเบื้องต้น.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนที่ 7
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่2 การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions) การแจกแจงความถี่ เป็นการนำข้อมูลดิบที่รวบรวมได้มาจัดระเบียบ โดยทั่วไปจะจัดระเบียบในรูปตาราง ซึ่งเรียกว่า ตารางความถี่

2.1 การแจกแจงความถี่สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ตารางความถี่แบบทางเดียว ชาย หญิง ชาย ชาย หญิง หญิง ชาย หญิง หญิง ชาย ชาย ชาย หญิง หญิง หญิง ชาย ชาย หญิง หญิง เพศ จำนวน ร้อยละ ชาย 8 44.44 หญิง 10 55.56 รวม 18 100

บริหาร นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ บัญชี บริหาร นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ บริหาร บัญชี นิเทศศาสตร์ บริหาร บริหาร บัญชี นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ คณะ จำนวน ร้อยละ บริหาร 5 33.33 บัญชี 3 20 นิเทศศาสตร์ 4 26.67 นิติศาสตร์ รวม 15 100

ตารางความถี่แบบสองทาง ตารางความถี่แบบหลายทาง ดูในหนังสือหน้า 19

2.2 การแจกแจงความถี่สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ 100 150 120 80 200 200 150 100 300 80 100 150 200 150 200 200 100 300 รายจ่าย รอยความถี่ ความถี่ (จำนวน) 80 II 2 100 IIII 4 120 I 1 150 200 5 300 การแจกแจงความถี่แบบไม่จัดข้อมูลเป็นกลุ่ม

การแจกแจงความถี่แบบจัดข้อมูลเป็นกลุ่ม รายจ่าย ความถี่ 80 - 140 7 141 - 201 9 202 - 262 263 - 323 2

การแจกแจงความถี่สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ การแจกแจงความถี่แบบจัดข้อมูลเป็นกลุ่ม เมื่อข้อมูลเป็นจำนวนเต็ม ตย. 1 100 100 120 130 150 80 100 150 100 200 180 80 120 170 200 200 100 100 50 130 150 180 200 100 160 180 200 250 200 150 พิสัย = ค่าสูงสุด - ค่าต่ำสุด = 250 - 50 = 200

อันตรภาคชั้น = พิสัย / จำนวนชั้น จำนวนชั้น = 5 ชั้น อันตรภาคชั้น = พิสัย / จำนวนชั้น = 200/5 = 40 41 ขีดจำกัดชั้น รอยความถี่ ความถี่ 50 - 90 III 3 91 - 131 I I I I IIII I 11 132 - 172 IIII II 7 173 - 213 IIII III 8 214 - 254 I 1 สร้างตารางชิดซ้าย เพื่อต่อเติมได้ทางขวา

ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง -0.5 +0.5 ขีดจำกัดชั้น ความถี่ ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง จุดกลางชั้น ความถี่สะสม แบบน้อยกว่า แบบมากกว่า 50 - 90 3 91 - 131 11 132 - 172 7 173 - 213 8 214 - 254 1 49.5 - 90.5 70 3 30 90.5 - 131.5 111 14 27 131.5 - 172.5 152 21 16 172.5 - 213.5 193 29 9 213.5 -254.5 234 30 1

ข้อสังเกต...................

ความถี่สัมพัทธ์ของชั้นที่ i = ขีดจำกัดชั้น ความถี่ ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละ 50 - 90 3 91 - 131 11 132 - 172 7 173 - 213 8 214 - 254 1 0.1x 100 0.1 10 0.37 37 0.23 23 0.27 27 รวมได้ 100 รวมได้ 1 0.03 3

ตย. 2 การแจกแจงความถี่สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ การแจกแจงความถี่แบบจัดข้อมูลเป็นกลุ่ม เมื่อข้อมูลเป็นทศนิยม 1 ตำแหน่ง ตย. 2 2.5 2.0 2.3 2.1 1.9 2.6 2.5 2.4 2.0 2.2 3.0 3.1 2.3 3.7 2.9 2.6 2.2 2.2 3.2 3.5 พิสัย = 3.7 - 1.9 = 1.8 จำนวนชั้น = 4 ชั้น

ขีดจำกัดชั้น รอยความถี่ ความถี่ อันตรภาคชั้น = 1.8 / 4 = 0.45 0.5 ขีดจำกัดชั้น รอยความถี่ ความถี่ 1.9 - 2.3 IIII IIII IIII 9 2.4 - 2.8 5 2.9 - 3.3 IIII 4 2 3.4 - 3.8 II

- 0.05 +0.05 ขีดจำกัดชั้น ความถี่ ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง จุดกลางชั้น 1.9 - 2.3 9 2.4 - 2.8 5 2.9 - 3.3 4 3.4 - 3.8 2 1.85 - 2.35 2.1 2.35 - 2.85 2.6 3.1 2.85 - 3.35 3.35 - 3.85 3.6 ข้อสังเกต.................

ข้อที่ควรระวัง การหาอันตรภาคชั้นจาก อันตรภาคชั้น = พิสัย / จำนวนชั้น การหาอันตรภาคชั้นจาก อันตรภาคชั้น = พิสัย / จำนวนชั้น ผลหารที่ได้ต้องปัดขึ้นเสมอและให้มีลักษณะเหมือนข้อมูล เริ่มต้น ถ้าข้อมูลเป็นจำนวนเต็ม อันตรภาคชั้น = 45 / 9 = 5 6 อันตรภาคชั้น = 35 / 6 = 5.83 6 อันตรภาคชั้น = 42 / 5 = 8.4 9

ถ้าข้อมูลเป็นทศนิยม 1 ตำแหน่ง อันตรภาคชั้น = 16 / 4 = 4 4.1 อันตรภาคชั้น = 25 / 6 = 4.16 4.2 อันตรภาคชั้น = 31 / 5 = 6.2 6.3 อันตรภาคชั้น = 2.7 / 3 = 0.9 1.0

โจทย์ ข้อ 1 จากการรวบรวมข้อมูลอายุนักท่องเที่ยว 30 คน ได้ดังนี้ 30 24 34 36 29 25 47 49 38 42 50 46 65 37 29 28 36 51 44 42 36 31 30 40 34 44 26 29 50 48 ก. จงสร้างตารางความถี่จำนวน 6 ชั้น พร้อมทั้งบอก ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง จุดกลางชั้น และความถี่สะสม

ค่าสูงสุด = 65 ค่าต่ำสุด = 24 พิสัย = 65 – 24 = 41 อันตรภาคชั้น = 41 / 6 = 6.83 7

ตารางนี้ควรสร้าง 5 ชั้น เนื่องจากมีความถี่เป็น 0 อยู่ 1 ชั้น ขีดจำกัดชั้น ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง จุดกลางชั้น รอยความถี่ ความถี่ ความถี่สะสม แบบน้อยกว่า แบบมากกว่า 24 - 30 23.5 - 30.5 27 IIII IIII 9 30 31 - 37 30.5 - 37.5 34 IIII II 7 16 21 38 - 44 37.5 - 44.5 41 IIII I 6 22 14 45 - 51 44.5 - 51.5 48 29 8 52 - 58 51.5 -58.8 55 - 1 59 - 65 58.5 - 65.5 62 I ตารางนี้ควรสร้าง 5 ชั้น เนื่องจากมีความถี่เป็น 0 อยู่ 1 ชั้น

ข. จงคำนวณความถี่สัมพัทธ์และร้อยละ ขีดจำกัดชั้น ความถี่ ความถี่สัมพัทธ์ ร้อยละ 24 - 30 9 31 - 37 7 38 - 44 6 45 - 51 52 - 58 59 - 65 1 0.3 30 0.23 23 0.2 20 0.23 23 0.03 3

ข้อ 2 จากการสำรวจการใช้เวลาในการดูโทรทัศน์ของนักศึกษา 25 คน ข้อมูลมีหน่วยเป็นชั่วโมง จงสร้างตารางความถี่จำนวน 5 ชั้น พร้อมทั้งบอกขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง และจุดกลางชั้น 1.5 2.0 2.5 4.0 1.0 3.5 2.0 2.5 3.0 3.3 4.0 4.5 3.0 2.0 2.5 1.0 1.5 1.6 1.8 2.2 2.7 3.8 3.6 3.0 2.8

ค่าสูงสุด = 4.5 ค่าต่ำสุด = 1.0 พิสัย = 4.5 – 1.0 = 3.5 อันตรภาคชั้น = 3.5 / 5 = 0.7 0.8

ขีดจำกัดชั้น ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง จุดกลางชั้น รอยความถี่ ความถี่ 1.0 - 1.7 0.95 - 1.75 1.35 IIII 5 1.8 - 2.5 1.75 -2.55 2.15 IIII III 8 2.6 - 3.3 2.55 - 3.35 2.95 IIII I 6 3.4 - 4.1 3.35 - 4.15 3.75 4.2 - 4.9 4.15 - 4.95 4.55 I 1

การแจกแจงความถี่สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณที่นิยมอีกแบบคือแผนภาพลำต้นและใบ (Stem and Leaf Diagram) ดูหัวข้อ 2.2.2 หน้า 29

24 22 27 17 19 25 23 18 20 19 21 14 20 23 22 48 24 19 20 38 31 20 39 18 45 22 15 18 26 16 25 29 30 29 36 35 33 43 30 28 ลำต้น ใบ ความถี่ 1 7 9 8 9 4 2 4 2 7 5 3 1 3 4

ลำต้น ใบ ความถี่ 1 7 9 8 9 4 9 8 5 8 6 2 4 2 7 5 3 0 1 0 3 2 4 0 0 2 6 5 9 9 8 3 8 1 9 0 6 5 3 0 4 8 5 3

ลำต้น ใบ ความถี่ 1 4 5 6 7 8 8 8 9 9 9 10 2 0 0 0 0 1 2 2 2 3 3 4 4 5 5 6 7 8 9 9 19 3 0 0 1 3 5 6 8 9 8 4 3 5 8

ดูตัวอย่าง 2.5 หน้า 30 - 31

โจทย์ ข้อ 3 จงสร้างแผนภาพลำต้นและใบ จากข้อมูลในข้อ 2 ต่อไปนี้ 1.5 2.0 2.5 4.0 1.0 3.5 2.0 2.5 3.0 3.3 4.0 4.5 3.0 2.0 2.5 1.0 1.5 1.6 1.8 2.2 2.7 3.8 3.6 3.0 2.8

ลำต้น ใบ ความถี่ 1 2 3 4 .5 .5 .5 .5 .3

ลำต้น ใบ ความถี่ 1 2 3 4

กราฟแสดงการแจกแจงความถี่ รูปฮิสโตแกรม รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ รูปโค้งความถี่

ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง จากตารางความถี่ ใน ตย. 1 ขีดจำกัดชั้น ความถี่ ขีดจำกัดชั้นที่แท้จริง 50 - 90 3 49.5 – 90.5 91 - 131 11 90.5 – 131.5 132 - 172 7 132.5 – 172.5 173 - 213 8 172.5 – 213.5 214 - 254 1 213.5 – 254.5

ความถี่ 11 10 8 7 5 3 1 ขีดจำกัดที่แท้จริง 49.5 90.5 131.5 172.5 213.5 254.5

ดูรูปโค้งความถี่ อื่นๆหน้า 36 ดูรูปโค้งความถี่ อื่นๆหน้า 36