COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
ICT & LEARN.
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
ระบบเตือนการนัดหมาย ทางการแพทย์
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น Development of Customer Relationship Management System for Khon Kaen University นายจักรพงษ์
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
มองไม่เห็นก็เรียนได้
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
เรื่องการสร้างงานนำเสนอด้วยโปรแกรมPorer point2007
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
เรื่องการสร้างการงานนำเสนอด้วย โปรแกรม P OWERPOINT 2007 เรื่องศึกษาความพึงพอใจในการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ สำหรับบัณฑิตศึกษา.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หัวข้อโครงงาน สื่อการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ : มาตรฐานอาคารเขียว
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
Management Information Systems
ระบบประมวลผลการแข่งขันกีฬา : บาสเกตบอล
แนะนำรายวิชา STC0101 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึม
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
โปรแกรมจำแนกรุ่นรถยนต์โครงสร้างแบบ Relative bag of words (รุ่นสอง)
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย นางสาวเพลินจิตร์ กันหาป้อง
โครงงานฝึกปฏิบัติงาน “ ”
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ระบบบริการเกรดออนไลน์
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
เรื่อง การแก้ไขปัญหา นักศึกษา ชอ-302 โดย ว่าที่ร้อยตรี รุ่ง ดีคำป้อ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
Evaluating e-learning systems using e-traceability systems นาย จีรวัฒน์ คำภิรา รหัสนิสิต
อาจารย์นริสรา คลองขุด
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา โดย ชรินทร์ญา กล้าแข็ง
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

COE2010-19 โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา นางสาวรัตติยา ฐานะสุนทรฤกษ์ รหัส 503040253-3 นายเสฏฐวุฒิ แสนนาม รหัส 503040791-5

เนื้อหาที่จะนำเสนอ ที่มาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ แผนการดำเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ที่มาและความสำคัญ การจัดทำตารางสอน เกี่ยวข้องกับหลายส่วนงานในมหาวิทยาลัย ตารางสอน สำนักทะเบียนและประมวลผล สำนักงานบริการการศึกษา ภาควิชา

ที่มาและความสำคัญ การแก้ไขตารางสอนที่ออกแบบไว้แล้ว แก้ไขในช่วง 3 สัปดาห์แรกของการเปิดภาคการศึกษาใหม่ เปิดรับจำนวนนักศึกษาเพิ่ม เปลี่ยนแปลงวันและเวลาสอน กำหนดวันและเวลาให้กับรายวิชาที่เคยกำหนดให้เป็น WBA ตรวจสอบไม่ให้ส่งผลกระทบต่อนักศึกษาที่ลงทะเบียนอยู่ก่อนแล้ว

ที่มาและความสำคัญ ปัญหาและอุปสรรค Decision Support System ปัจจุบันยังเป็นการทำงานด้วยมือโดยจัดตารางเวลาบนกระดาษ ข้อมูลที่ต้องนำมาวิเคราะห์มีมาก ทำงานล่าช้าและอาจเกิดความผิดพลาดได้ Decision Support System ช่วยในการวิเคราะห์และตัดสินใจ รวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอแนวทางที่เหมาะสม

วัตถุประสงค์ของโครงการ ศึกษาความต้องการและปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการจัดตารางสอนของภาควิชารวมทั้งขั้นตอนและวิธีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขตารางสอนในภาควิชา วิเคราะห์ปัญหาเพื่อออกแบบขั้นตอนและกระบวนการทำงานที่เหมาะสมที่สามารถแก้ปัญหาที่มีอยู่ในภาควิชา ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมให้ตอบสนองตามความต้องการที่ได้ศึกษาและวิเคราะห์ตามข้อ 1 และ ข้อ 2

ขอบเขตของโครงการ โปรแกรมที่พัฒนาจะทำการวิเคราะห์และตัดสินใจการจัดการตารางสอน รองรับการทำงานในระดับภาควิชา ใช้ข้อมูลวิชาเรียนของภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นกรณีศึกษา

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้โปรแกรมสำหรับช่วยในการวิเคราะห์และจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา ที่อำนวยความสะดวกในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลวันเวลาเรียน และการจัดการห้องเรียน ลดระยะเวลาในการดำเนินงานเพื่อติดต่อกับส่วนกลางในการปรับปรุง มข 30 โปรแกรมที่ได้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการจัดตารางสอนของภาควิชาอื่น ๆ ที่มีหลักการจัดตารางสอนใกล้เคียงกับภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานใกล้เคียงกับความต้องการ โปรแกรมจัดตารางสอน 6.03B โปรแกรม aScTimeTables Prime Timetable งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การจัดตารางสอนอัตโนมัติแบบเลือกสรรได้โดยใช้จีนีติกอัลกอริทึม

ขั้นตอนการดำเนินโครงการ แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินโครงการ 2553 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ศึกษาข้อมูลปัญหาและความต้องการในการจัดตารางสอนของภาควิชา วางแผนและออกแบบโปรแกรมต้นแบบ เพื่อดูความเหมาะสมที่จะนำไปพัฒนาต่อ วิเคราะห์สิ่งที่ออกแบบเพื่อตรวจดูความเป็นไปได้และความถูกต้อง สร้างและทดสอบระบบ โดยทดสอบกับข้อมูลจริงของวิชาในภาคการศึกษาที่ผ่านมา ทดสอบระบบกับข้อมูลจริงของวิชาในภาคการศึกษาที่ 2/2553 และปรับปรุงแก้ไข วิเคราะห์และสรุปผลการพัฒนาโปรแกรม เขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ

สรุป