ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ที่สามารถใช้สิทธิได้
Advertisements

แนวทางการบันทึกข้อมูลเวชระเบียน การให้บริการสุขภาพช่องปาก
Medication reconciliation
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
(Material Requirement Planning)
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
(Material Requirement Planning)
อักษรไขว้สำหรับการฝึกฝนคำศัพท์ภาษาอังกฤษระดับการเรียนรู้ชั้นที่ 3 Crossword for English vocabulary practice in learning level 3 นายเกียรติศักดิ์ โพธิดอกไม้
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
โดย นายชยกร พิมพานนท์ นางสาวนพวรรณ์ ไสลรัตน์
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น Development of Customer Relationship Management System for Khon Kaen University นายจักรพงษ์
COE โปรแกรมบริหารจัดการอู่ซ่อมรถยนต์ iGarage
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
Comprehensive Insurance System ระบบประกันเบ็ดเสร็จ
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
COE โปรแกรมการจัดการตารางสอนสำหรับภาควิชา
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
Claim Management System ระบบบริหารจัดการเคลมประกันรถยนต์
. COE : โปรแกรมบริการจัดการอู่ซ่อมรถยนต์
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
นายอัศวิน คำภูแสน นายเกษม นาคาภรณ์ธรรม
COE Electronic Voting System
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การบันทึกข้อมูลให้บริการ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
ดูแลดุจญาติมิตร พร้อมดวงจิตบริการ
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
Medication reconciliation
ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการจัดทำข้อมูลระบบงานบุคลากรในระบบ MIS2
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ทางเลือกใหม่ ของ การตรวจสอบสิทธิ.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน งานปรับปรุงข้อมูลและตั้งเบิก
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
ภัทรา อเนกวิทยากิจ สำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ (สตช.)
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 03. ข้อมูลการให้บริการ
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
Patient Monitoring นำเสนอโดย นายกันต์ ศิริงามเพ็ญ KMITL
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล COE2009-28 ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล Out Patient Management for Hospital System

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ นำเสนอโดย นายชยกร พิมพานนท์ รหัส 493040145-5 นางสาวนพวรรณ์ ไสลรัตน์ รหัส 493041132-9 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ รศ. วนิดา แก่นอากาศ อาจารย์ร่วมประเมินโครงการ รศ. วิโรจน์ ทวีปวรเดช ผศ. อนัตต์ เจ่าสกุล

หัวข้อที่จะนำเสนอ วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตของโครงการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ แผนการดำเนินงาน ความคืบหน้าของโครงการ แผนงานที่จะดำเนินงานต่อ

วัตถุประสงค์ของโครงการ พัฒนาโปรแกรมที่ใช้ในการบริหารโรงพยาบาล ซึ่งรองรับการทำงานในส่วนของ OPD พัฒนาโปรแกรมที่ทำงานในลักษณะ Client-Server และเป็นลักษณะ Web based

ขอบเขตของโครงการ พัฒนาโปรแกรมให้รองรับการทำงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผนกผู้ป่วยนอก (OUTPATIENT DEPARTMENT : OPD) ซึ่งโรงพยาบาลทดสอบคือ โรงพยาบาลร้อยเอ็ด

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้โปรแกรมระบบบริหารและจัดการโรงพยาบาลซึ่งรองรับการทำงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผนกผู้ป่วยนอก (OUTPATIENT DEPARTMENT : OPD) ที่ทำงานในลักษณะ Client-Server ซึ่งเป็นลักษณะ Web based สำหรับโรงพยาบาลร้อยเอ็ด.

แผนการดำเนินงาน

ความคืบหน้าของโครงการ ศึกษาโครงสร้างของระบบ ออกแบบ Flow chart การทำงานของระบบ ออกแบบ User Interface

ศึกษาโครงสร้างของระบบ การจัดการข้อมูลผู้ป่วย การจัดการรายการลงทะเบียนตรวจรักษา การจัดการรายการบันทึกผลการรักษา การจัดการรายการนัดผู้ป่วย การจัดการรายการจ่ายยา การจัดการข้อมูลการ Refer การจัดการอื่นๆ

การจัดการข้อมูลผู้ป่วย เพิ่ม/แก้ไข ข้อมูลทั่วไป ชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย เลขที่บัตรประชาชน อายุ หมู่เลือด การแพ้ยา ที่อยู่ ชื่อบิดา มารดา ชื่อผู้ติดต่อ ที่อยู่ผู้ติดต่อ ฯลฯ ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว สถานะในครอบครัว สถานะบุคคล การศึกษา ตำแหน่งในชุมชน แพทย์ประจำตัว โรคประจำตัว ประวัติญาติ ประวัติความเจ็บป่วย และโรคประจำตัวของญาติผู้ป่วย สิทธิการรักษา

การจัดการรายการลงทะเบียนตรวจรักษา จัดลำดับคิวการรักษา ตรวจสอบและเลือกสิทธิการรักษาที่จะใช้ในครั้งนั้นๆ ตรวจและบันทึกข้อมูล Vital sign และอาการเบื้องต้น วัดความดัน อุณหภูมิ ชีพจร อัตราการหายใจ น้ำหนัก ส่วนสูง ฯลฯ ตรวจสอบและบันทึกข้อมูลอื่นๆ ประวัติการนัดหมาย ข้อมูลเวชระเบียน ประวัติการ X-Ray ประวัติการผ่าตัด ประวัติการักษาที่อื่น ฯลฯ

การจัดการรายการบันทึกผลการรักษา บันทึกผลการวินิจฉัยและการตรวจรักษาของแพทย์

การจัดการรายการนัดผู้ป่วย เพิ่ม/แก้ไข ข้อมูลวันที่และเวลาว่างของแพทย์ ข้อมูลห้องและแผนกที่จะนัด ตรวจสอบประวัติการนัด ลงรายการนัดผู้ป่วย

การจัดการรายการจ่ายยา เพิ่ม/แก้ไข การสั่งจ่ายยา รายการยาที่ใช้ พร้อมวิธีใช้ และขนาด การจัดลำดับคิวการรอรับยา การคำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมด

การจัดการข้อมูลการ Refer

การจัดการอื่นๆ การส่ง LAB การส่ง X-Ray การจัดการผู้ป่วยฉุกเฉิน การเพิ่มข้อมูลส่วนตัว และข้อมูลการรักษาของผู้ป่วยฉุกเฉิน

ออกแบบ Flow chart การทำงานของระบบ (1/3)

ออกแบบ Flow chart การทำงานของระบบ (2/3)

ออกแบบ Flow chart การทำงานของระบบ (3/3)

ออกแบบ User Interface

แผนงานที่จะดำเนินงานต่อ

Q&A Thank you for Attention