โปรแกรมแสดงประวัติการแก้ไขแฟ้มเอกสาร (Multi-Version Text Viewer / Editor) COE2005-06 นาย กัณวัตม์ ไชยารัศมี รหัส 453040592-6 นาย ชัยวัฒน์ สุขปัญญา รหัส.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผลงานวิชาการ
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
รายละเอียดของการทำ Logbook
COE นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล อาจารย์ร่วมประเมินโครงการ.
Multi-Version Text Viewer / Editor COE Chaiwat Sookpanya : Kannawat Chaiyarajsamee :
Multi-Version Text Viewer / Editor COE Chaiwat Sookpanya : Kannawat Chaiyarajsamee :
COE คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายงานโครงการหมายเลข COE
Development of e-Office System for Computer Centre at Khon Kaen University COE นาย กรีชา ซื่อตรง รหัส นาย ปรเมศวร์ มาพิทักษ์ รหัส.
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
(Material Requirement Planning)
TinyERP ภาษาไทย นางสาว รัตติกาล สุวรรณธาดา
(Material Requirement Planning)
(Material Requirement Planning)
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
Tiny ERP ผู้ดำเนินโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
COE ผู้จัดทำโครงการ • นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส • นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ • ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล.
COE Graphic Programming Language for PIC MCU โดย นาย ชาติชาย ดิลกลาภ นาย ธีระพงศ์ มุกดาพิพัฒน์กุล อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ.
Management of International Relation Information System
การพัฒนาระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
โปรแกรมฐานข้อมูลสำหรับร้านอะไหล่ Carparts Database Systems
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
โดย นายชยกร พิมพานนท์ นางสาวนพวรรณ์ ไสลรัตน์
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
COE คณะวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นางสาวพรรณวดี ฝางแก้ว รหัส
COE Electronic Voting System
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
เว็บเซอร์วิสเรียกง่าย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
eDocument Services ระบบการบริการเอกสารอิเลคทรอนิกส์ COE
Graphic Programming Language for PIC MCU
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
(Meterial Requirement Planning)
รายละเอียดของการทำ Logbook
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 File Management. ประเด็นที่ต้องพิจารณา ถ้าต้องการเก็บข้อมูลจะเก็บข้อมูลไว้ที่ไหน สามารถเก็บข้อมูลตรงไปยัง media โดยไม่ต้อง จัดรูปแบบการเก็บได้หรือไม่
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
System Development Lift Cycle
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
1. การเขียนโปรแกรมภาษา PHP เบื้องต้น
การใช้งานระบบ TU Moodle
Program for sending SMS to group of mobiles via Web Service Developers 1.Ms.La-or-si Jaichuen Ms.Sirirat Buddee COE
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Evaluating e-learning systems using e-traceability systems นาย จีรวัฒน์ คำภิรา รหัสนิสิต
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การเรียนรู้ร่วมกันผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ Electronic Community Learning COE นายกิตติกัญจน์ เมฆประสาน นายจักรพงศ์ เปลี่ยนคำ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรมแสดงประวัติการแก้ไขแฟ้มเอกสาร (Multi-Version Text Viewer / Editor) COE2005-06 นาย กัณวัตม์ ไชยารัศมี รหัส 453040592-6 นาย ชัยวัฒน์ สุขปัญญา รหัส 453040656-6

ทีมงาน นาย กัณวัตม์ ไชยารัศมี รหัส 453040592-6 นาย ชัยวัฒน์ สุขปัญญา รหัส 453040656-6 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ร่วมประเมิน 1. อ.อนัตต์ เจ่าสกุล 2. ผศ.บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล

ที่มาและความสำคัญของปัญหา การพัฒนาซอฟท์แวร์ ในปัจจุบันก็มีความซับซ้อนสูง และยังมีการแยกออกเป็นหลายๆ version และหลาย revision ซึ่งในปัจจุบันก็ได้มี ซอฟท์แวร์ ที่ช่วยเหลือในการจัดการ source code ทีมีจำนวนมากได้ เช่นโปรแกรม Concurrent Versions System (CVS) , Subversion และ MS.Visual SourceSafe แต่โปรแกรมดังกล่าวก็ยังไม่สามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างครบถ้วนโดยมีปัญหาหลักดังต่อไปนี้

ที่มาและความสำคัญของปัญหา ในการบันทึกความเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการแสดงผล ยังไม่สามารถแสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาได้อย่างชัดเจน ไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างการย้ายประโยคกับการลบและเพิ่มได้ มีความต้องการ Editor ที่ช่วยผู้ใช้ในการแก้ไขไฟล์ โดยสามารถดูข้อมูลที่ถูกแก้ไขในอดีตที่ผ่านมา ได้พร้อมๆกันได้ มีความต้องการ โปรแกรมที่ช่วยในการวิเคราะห์ Source Code ที่ถูกแก้ไขหลายๆ ครั้ง เพื่อให้ สามารถพิจารณาได้ง่ายขึ้น

วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ สร้างโปรแกรมเพื่อใช้ในการอ่านข้อมูลเอกสารจาก โปรแกรม Microsoft Visual SourceSafe ซึ่งเป็นระบบบันทึกประวัติการแก้ไข โดย โปรแกรมสามารถแสดงการแก้ไขของเอกสารได้ โดยแสดงแบบทั้งหมด, เฉพาะส่วน และสามารถนำข้อมูลเก่ามาคัดลอกได้ โปรแกรม ควรสามารถแสดงในระดับตัวอักษรที่ถูกแก้ไขทั้งที่ถูกเพิ่มเติมหรือลบ และ แสดงการย้ายที่ของข้อความ ณ วัน เวลาที่แก้ไขได้

ขอบเขตของงาน โปรแกรมในรูปแบบที่เป็น Editor แสดงการประวัติการแก้ไขของเอกสารได้ แสดงความแตกต่างระหว่าง source code ตั้งแต่ 2-4 version พร้อมๆกัน สามารถแก้ไขและคัดลอก บันทึกแต่ละ versionได้

เครื่องมือที่ใช้ Programming Language : C# or Java Microsoft Visual Studio .net Microsoft Visual SourceSafe

ทฤษฎีและงานที่เกี่ยวข้อง Tortoise CVS เป็นโปรแกรมช่วยเหลือในการจัดการ source code ทีมีจำนวนมาก โดย CVS ใช้หลักการ Optimistic Locking ก็คืออนุญาตให้ผู้ใช้หลายๆคนสามารถดาวน์โหลด (Check Out) ไฟล์อันเดียวกัน แต่ละผู้ใช้สามารถแก้ไขไฟล์ต่างๆที่ดาวน์โหลดมา และสามารถอัพโหลดไฟล์ (Check in) กลับเข้าสู่ CVS โดย CVS จะรับผิดชอบเรื่องการตรวจ Conflict ว่ามีใครแก้ไขไฟล์เดียวกันหรือไม่ ถ้ามีจะสามารถแสดงความแตกต่างระหว่างไฟล์ และ/หรือ การรวมไฟล์เข้าด้วยกัน

ทฤษฎีและงานที่เกี่ยวข้อง Microsoft Visual SourceSafe ทำงานคล้าย CVS โดยที่ ผู้ใช้ใดๆ ดาวน์โหลดไฟล์ออกมา ต้องทำการอัพโหลดไฟล์ คืน เพื่อให้ User คนอื่นๆ ได้แก้ไขไฟล์ นั้นได้บ้าง แต่ขณะที่เราดาวน์โหลดไฟล์ ออกมา ผู้ใช้คนอื่นก็สามารถอ่านไฟล์ นั้นได้ แต่ไม่สามารถ แก้ไขไฟล์ได้ ซึ่งข้อนี้เป็นข้อดีของ Microsoft Visual SourceSafe

ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน 1. ศึกษาวิธีการใช้โปรแกรมและการทำงานของ Visual SourceSafe และศึกษารูปแบบของไฟล์ CVS 2. ศึกษาโปรแกรมที่ช่วยในการวิเคราะห์ CODE เช่นโปรแกรม SeeSoft เพื่อเป็นแนวคิดในการออกแบบโปรแกรม 3. ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการออกแบบโปรแกรม 4. ศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C# และ Java 5. ออกแบบโครงสร้างของโปรแกรม 6. พัฒนาและทดสอบโปรแกรม หา bug และ debug โปรแกรม 7. สรุปผลการทำงานและเขียนคู่มือการใช้งาน

ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน

ผลงานที่ทำ จากขั้นตอนการดำเนิน 7 ขั้นตอน ได้ดำเนินการตามแผนแล้วเสร็จไปบางส่วนในขั้นตอนที่ 1 ดังนี้ - ศึกษาวิธีการใช้โปรแกรม การทำงาน และศึกษารูปแบบของไฟล์ ของ Visual SourceSafe และ CVS

เอกสารอ้างอิง http://msdn.microsoft.com/vstudio/previous/ssafe/productinfo/default.aspx http://ccvs.cvshome.org/fom/fom.cgi http://www.cvshome.org/ http://www.loria.fr/~molli/cvs/doc/cvs_toc.html - http://subversion.tigris.org