บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์ของสำนักงานอัตโนมัติ
Advertisements

บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 4 สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
บทที่ 10 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ความเสี่ยงจากการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
เงินสดเป็นทรัพย์สินหมุนเวียนสำคัญที่ต้องการระบบควบคุมที่แน่นหนาและรัดกุม
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
CAD / CAM CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
วงจรการผลิต วงจรของกิจกรรมการวางแผนและควบคุมการผลิต การผลิตและการบริหารสินค้าคงเหลือ ผลิตสินค้า การวางแผนและ ควบคุมการผลิต บริหารสินค้าคงเหลือ.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
Transaction Processing Systems
(Transaction Processing Systems)
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 9 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
ลักษณะของระบบบัญชี.
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
การออกแบบโครงสร้างการทำบัญชีโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม EXCEL
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
คิดโครงการ(Project) ที่คิดจะทำตอนจบปี 4 การออกแบบระบบร้านขายหนังสือ
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
System Analysis Episode 01
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การวัดการวิจัยในการตลาด
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศมีลักษณะอย่างไร
ชื่อโครงการ Project สินค้าแฮนด์เมท.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
Accounts payable system
บทที่7 ระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี เครื่องมือและเครื่องทุนแรงในงานบัญชี หมายถึง ครุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำบัญชี ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการทำบัญชี

ประโยชน์ของเครื่องมือและเครื่องทุ่นแรง ทำให้การปฏิบัติงานทางบัญชีเป็นมาตรฐานเดียวกัน ทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทำให้การจดบันทึกบัญชีรวดเร็ว ง่ายต่อการอ่าน การเก็บรักษา ช่วยลดเวลาในการทำงานของพนักงานบัญชี

การใช้คอมพิวเตอร์ในระบบบัญชี มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบ Stand Alone System เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานบัญชีสำหรับระบบย่อยระบบใดระบบหนึ่ง แต่ไม่ใช่ทั้งระบบ เช่น ระบบสินค้าคงเหลือ ระบบบัญชีลูกหนี้ 2. ระบบ Full System เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานบัญชีทั้งระบบถ้าหากมีรายการเกิดขึ้นก็จะกระทบไปถึงระบบรวมทั้งหมด

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานบัญชี 1. โปรแกรมบัญชีแยกประเภท 2. โปรแกรมบัญชีลูกหนี้ 3. โปรแกรมบัญชีเจ้าหนี้ 4. โปรแกรมออกใบกำกับสินค้าขาย 5. โปรแกรมสินค้าคงเหลือ 6. โปรแกรมจ่ายค่าแรง

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ต่องานบัญชี 1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานธุรกิจ 2. ทำให้เกิดความมั่นใจแก่ลูกค้าของธุรกิจ 3. ช่วยลดปัญหาการเก็บเอกสารและรายงานต่าง ๆ 4. ช่วยลดค่าใช้จ่ายของธุรกิจ 5. ช่วยลดข้อผิดพลาดในการทำงาน 6. ช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบข้อมูลทันตามต้องการและทันต่อเหตุการณ์ กลับ