สมาชิก 1.น.ส.เจตนิพิฐ พงศ์พฤกษธาตุ เลขที่ 15 2.น.ส.ชนิตา ปรีชากิตติไพศาล เลขที่ 16 3.น.ส.ปฏิมาล์ ศิริพิรุณ เลขที่ 17 4.น.ส.รัชดาวัลย์ อมรสิทธิวงศ์ เลขที่ 18 5.น.ส.ณัฏฐณิชา สังฆบุรี เลขที่ 19 6.น.ส.ออม หมื่นขาว เลขที่ 20 7.น.ส.อัญญ์ชิยา พิทักษา เลขที่ 21 8.น.ส.ปณิตตา ปิยะวัฒน์ เลขที่ 39 9.น.ส.สุกัญญา มิ่งขวัญ เลขที่ 40
สถาบันครอบครัว
สถาบันครอบครัว คือ สถาบันขั้นพื้นฐานและมีความสำคัญมากต่อสังคมไทย ครอบครัวเกิดจากกลุ่มคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปมีความสัมพันธ์กันทางการสมรส สายโลหิต หรือการรับเอาไว้เป็นบุตรบุญธรรม รวมทั้งการรับบุคคลอื่น เช่น ญาติ และคนรับใช้มาอาศัยอยู่ร่วมกัน สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันที่มีความใกล้ชิดและมีอิทธิพลโดยตรงในการอบรมขัดเกลาให้สมาชิกมีบุคลิกภาพที่ดี มีการปรับตัวที่เหมาะสม เพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
ประเภทของครอบครัว แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ครอบครัวเดี่ยวหรือครอบครัวเฉพาะ ประกอบด้วยบิดามารดาและบุตรเท่านั้นซึ่งสมาชิกในครอบครัวจะมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด คือ ทางสายโลหิตและทางกฎหมาย(การรับจดทะเบียนบุตรเป็นบุตรบุญธรรม) 2. ครอบครัวขยายหรือครอบครัวเสริม ครอบครัวประเภทนี้มีพื้นฐานครอบครัวเดิมมาจากครอบครัวเฉพาะซึ่งสมาชิกประกอบด้วย บิดา มารดา และบุตร นอกจากนี้ยังมีญาติพี่น้องอื่นๆ เป็นสมาชิกอาศัยอยู่รวมกันซึ่งอาจจะเป็นปู่ ย่า ตา ยาย หรือลุงป้า น้า อา และอาจจะมีหลานร่วมอยู่ด้วย ครอบครัวขยายจึงมีสมาชิกมากกว่าครอบครัวเฉพาะ
หน้าที่ของสถาบันครอบครัว 1.สร้างสรรค์สมาชิกใหม่ขึ้นทดแทนสมาชิกเดิมที่เสียไปและช่วยให้สังคมอยู่รอด 4.ให้ความรักและความอบอุ่นด้วยความบริสุทธิ์ใจ เพื่อให้สมาชิกมีกำลังใจในการต่อสู้กับอุปสรรคต่างๆ 2.เลี้ยงดูและอบรมสมาชิกของครอบครัว เพื่อให้ได้รับความปลอดภัยและเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ 5. กำหนดสถานภาพทางสังคมให้แก่สมาชิก เมื่ออยู่ในครอบครัว สมาชิกทุกคนจะมีสถานภาพที่ถูกกำหนดขึ้นโดยกำเนิดเช่น เพศ เชื้อชาติ ศาสนา เชื้อชาติ สัญชาติ และสถานะในครอบครัวรวมถึงในวงสังคม 3. อบรมสั่งสอนระเบียบแบบแผนและโครงสร้างของสังคม เพื่อให้สมาชิกสามารถปรับตัวและดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข
บทบาทของสมาชิก สมาชิกในครอบครัวต้องมีบทบาทไปตามสถานภาพของตน เช่น พ่อแม่มีบทบาทในการเลี้ยงดูและอบรมสั่งสอนบุตร ให้ความรักความเมตตาและให้กำลังใจลูก ส่วนลูกมีบทบาท คือ รักและความรพ เชื่อฟังพ่อแม่ มีความกตัญญูต่อพ่อแม่
สถาบันพื้นฐานของสังคมไทย เกิดจากกลุ่มคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปมีความสัมพันธ์กันทางการสมรส ทางสายโลหิต หรือการรับไว้เป็นบุตรบุญธรรม รวมทั้งรับบุคคลอื่นเช่นญาติหรือคนรับใช้มาอาศัยอยู่ด้วย ครอบครัวเดี่ยว พ่อ แม่ ลูก ครอบครัวเสริม พ่อ แม่ ลูก +ญาติ ประเภทของครอบครัว บทบาทของสมาชิก หน้าที่ของครอบครัว สถาบันครอบครัว 1.สร้างสรรค์สมาชิกใหม่ให้แก่สังคม 2.เลี้ยงดูและอบรมสมาชิกในครอบครัว สมาชิกมีบทบาทไปตามสถานภาพของตน เช่น พ่อแม่ เลี้ยงดูอบรมสั่งสอนลูก ส่วนลูก รักและเคารพกตัญญูต่อพ่อแม่ 5.กำหนดสถานภาพทางสังคมให้แก่สมาชิก 3.อบรมสั่งสอนให้รู้ระเบียบของสังคม 4.ให้ความรักความอบอุ่น