พุทธศาสนาเถรวาท รหัสวิชา 01388221 หมู่ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำการใช้งานระบบ คลิก เข้าเรียน
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
การนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติงาน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ดิจิตอลและการออกแบบตรรก
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
กิจการนิสิต (Student Affairs)
โรงเรียนศรีวัฒนาบริหารธุรกิจ และเทคโนโลยีนานาชาติ
การประกันคุณภาพการศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ครูผู้สอน นางสาวสุทธิดา เสือสะอาด
พันจ่านักเรียน รุ่นที่ ๓/๕๖ พื้นที่ พุทธมณฑล
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
Seminar in Information Technology II
แนะนำรายวิชา STC0101 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึม
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
งานวินัยและความประพฤติ
แนะนำกรรมการ หลักสูตร แผนการเรียน กิจกรรมพิเศษ สิ่งอำนวยความสะดวก.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
พื้นฐานการคิดเชิงระบบ (Fundamental Systems Thinking)
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ร่างตารางเปรียบเทียบ หลักสูตร พ. ศ กับหลักสูตร ปรับปรุง พ. ศ หลักสูตรศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการ สอนภาษาไทย.
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
การปฐมนิเทศ โดย แผนกศึกษา รร.พจ.ยศ.ทร.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
หลักสูตร ”การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ”
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
กราบนมัสการ พระปริยัติสารเวที,ดร. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์
ความเป็นครู.
มศว 365 การจัดการสมัยใหม่ (Principles of Modern Management)
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
หลักนิเทศศาสตร์ (Principles of Communication Art) FCA1101
โดย นางสาวพอใจ สาธุการ
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พุทธศาสนาเถรวาท รหัสวิชา 01388221 หมู่ 1

ประมวลการสอน ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 1. คณะ มนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 01388221 หมู่ 1 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) พุทธศาสนาเถรวาท จำนวนหน่วยกิต 3 (3-3)(ภาษาอังกฤษ) Theravada Buddhism วิชาพื้นฐาน - หมวดวิชา เฉพาะบังคับ, เลือกเสรี วัน ศุกร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. สถานที่ คณะมนุษยศาสตร์ 4 ห้อง 511

อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย 3. ผู้สอน อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ

4. การให้นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน วัน วันอังคาร เวลา 09 4. การให้นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน วัน วันอังคาร เวลา 09.00 – 11.00 น. โทรศัพท์ ภาควิชาฯ 0-2579-6525-6 ต่อ 114 ฝากข้อความ 101 แฟกซ์ 0-2942-8719 ภายใน 1439 ต่อ 1508 ต่อ 114 มือถือ 0812545515 , 0812458482 อีเมล์ fhumcwc@ku.ac.th เว็บไซต์ http://www.buddhism.iilc.ku.ac.th/chachawarn/chachawarn.html

5. จุดประสงค์ของวิชา 2. เพื่อให้รู้คำสอนสำคัญของพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง 1. เพื่อให้รู้ความเป็นมาตลอดถึงพัฒนาการของพุทธศาสนา 2. เพื่อให้รู้คำสอนสำคัญของพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของพุทธศาสนาที่มีต่อชีวิต และสังคม 4. เพื่อให้รู้ถึงอิทธิพลและบทบาทของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคม และวัฒนธรรมไทย 5. เพื่อให้รู้จักนำหลักธรรมของพุทธศาสนาไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

6. คำอธิบายรายวิชา กำเนิดและหลักธรรมสำคัญของพุทธศาสนา การแผ่ขยาย เเละพัฒนาการ ความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนาเถรวาท กับชีวิต วิทยาศาสตร์และสังคมปัจจุบัน Origin and important doctrines of Buddhism.Spread and development.The relation of Theravada Buddhism to life,science and present – day society.

8. เค้าโครงรายวิชา 1. กำเนิดพระพุทธศาสนา 1.1 พุทธประวัติ 6 ชั่วโมง 8. เค้าโครงรายวิชา 1. กำเนิดพระพุทธศาสนา 1.1 พุทธประวัติ 6 ชั่วโมง 1.2 วิธีการของพระพุทธเจ้า 6 ชั่วโมง 2. การแผ่ขยายของพระพุทธศาสนา 6 ชั่วโมง 3. ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาท 3 ชั่วโมง

4. คำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาท 4. 1 ขันธ์ 5 3 ชั่วโมง 4 4. คำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาท 4.1 ขันธ์ 5 3 ชั่วโมง 4.2 อริยสัจจ์ 4 3 ชั่วโมง 4.3 ไตรลักษณ์ 3 ชั่วโมง 4.4 ปฏิจจสมุปบาท 6 ชั่วโมง 5. พัฒนาการของระพุทธศาสนาเถรวาท 3 ชั่วโมง 6. ความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธศาสนา 6 ชั่วโมง เถรวาทกับชีวิต วิทยาศาสตร์และสังคม รวม 45 ชั่วโมง

9. วิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. การบรรยาย 2. อภิปรายและตอบปัญหา 3. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพื่อทำเป็นรายงาน 5. การสวดมนต์ ปฏิบัติสมาธิและวิปัสสนาที่บ้าน

9. อุปกรณ์สื่อการสอน 2. เครื่องฉายข้ามศีรษะ 3. วีดิทัศน์ 1. กระดานดำ 2. เครื่องฉายข้ามศีรษะ 3. วีดิทัศน์ 4. เพาเวอร์พ้อยท์ 5. เอกสารประกอบการบรรยาย 6. แผ่นดีวิทัศน์ประกอบการเรียน

10. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 10 10. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 10.1 คะแนนเข้าเรียน 6 คะแนน - เข้าเรียน 6 คะแนน (ขาดเรียนหักครั้งละ 2 คะแนน) ถ้าขาดเรียน 1 ครั้ง ต้อง ไปปฏิบัติธรรม 1 ครั้ง จะได้คะแนนคืน 1 คะแนน 10.2 คะแนนความประพฤติเข้าเรียน 4 คะแนน 10.3 คะแนนปฏิบัติธรรม 10 คะแนน - ปฏิบัติธรรม 6 ครั้งที่อาคารพุทธเกษตรโดย 4 ครั้งแรกให้ครั้งละ 2 คะแนน ในครั้งที่ 5 และ 6 จะให้ครั้งละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 10.4 งานวิชาการเดี่ยว (ตามที่มอบหมาย) 20 คะแนน 10.5 สอบปลายภาค 60 คะแนน รวม 100 คะแนน

11. การประเมินผลการเรียน อาจารย์ผู้สอนขอสงวนสิทธิ์ที่จะใช้เกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อความเหมาะสม ?..

12. เอกสารอ่านประกอบ ชัชวาลย์ ชิงชัย. คู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน. กรุงเทพฯ : ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร- ศาสตร์, 2544. (อัดสำเนา) ดร. เค เอ็น ชยติลเลเก. จริยศาสตร์แนวพุทธ. แปลและเรียบเรียงจาก Ethics in Buddhist Perspectiveโดย สุเชาวน์ พลอยชุม. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2532. พระ ดร. ดับบลิว ราหุล. พระพุทธเจ้าสอนอะไร. แปลและเรียบเรียง จาก What the Buddha taught โดย ชูศักดิ์ ทิพย์เกษร และ คณะ.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรม (ฉบับเดิม). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหธรรมิก จำกัด, พิมพ์ครั้งที่ 15, 2544. พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป, 2533. สุเชาวน์ พลอยชุม. พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. (อัดสำเนา) . พุทธศาสนาเถรวาท. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและ ศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2537. (อัดสำเนา) สุนทร ณ รังษี. พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฏก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.

กิจกรรมการเรียนการสอน ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย 14. ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน 1 แนะนำประมวลการสอน,กำเนิดพระพุทธศาสนาพุทธประวัติ ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย อ.ชัชวาลย์ 2 กำเนิดพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ 3 วิธีการของพระพทธเจ้า,การแผ่ขยายพระพุทธศาสนา 4 ความแตกต่างระหว่างเถรวาทกับมหายาน

ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย 5 ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนาเถรวาท ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย อ.ชัชวาลย์ 6 อริยสัจจ์ 4 7 ขันธ์ 5 , ไตรสิขขา ,อ ริยมรรค 8 ไตรลักษณ์ , กรรม

ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย 9 ปฎิจจสมุปบาท ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย อ.ชัชวาลย์ 10 นำเสนอรายงาน 11 นิพพานและอริยบุคค 12 นิพพานและอริยบุคคล

ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย 13 ความสัมพันธ์ของ พระพุทธศาสนาเถรวาทกับชีวิต วิทยาศาสตร์และสังคม ฟังบรรยาย,ซักถามและการอภิปราย อ.ชัชวาลย์ 14 สรุป ฟังบรรยาย,ซักถาม 15

หมายเหตุ : โปรดเชื่อฟังและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด 1. แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบ ฝ่าฝืนจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 2. อาจารย์จะปิดล็อกประตูและเริ่มสอนในเวลา 13.15 น. จะมีการเช็คชื่อผู้เข้าเรียนทุกครั้งนิสิตจะมีเฉพาะเข้าเรียนและขาดเรียนเท่านั้น ไม่มีสายเนื่องจากไม่สามารถเข้าห้องเรียนได้ 3. เก็บเครื่องมือสื่อสาร ใครฝ่าฝืนตัดคะแนนความประพฤติครั้งละ 2 คะแนน

4. รายละเอียดเรื่องต่าง ๆ มีดังนี้ 4.1 เข้าเรียนครบทุกครั้งให้ 6 คะแนน ขาดเรียนตัดครั้งละ 2 คะแนน ขาดเรียนเกิน 3 ครั้งไม่มีสิทธิ์สอบ นิสิตสามารถใช้ใบลากิจและลาป่วยได้ แต่จะถูกหักคะแนนครั้งละ1 คะแนน นิสิตต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์จึงจะมีสิทธิ์สอบ 4.2 ปฏิบัติธรรม 6 ครั้งที่อาคารพุทธเกษตรโดย 4 ครั้งแรกให้ครั้งละ 2 คะแนน ในครั้งที่ 5 และ 6 จะให้ครั้งละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 5. งานมอบหมายที่เป็นงานเดี่ยว ดังนี้ 5.1 งานเดี่ยวตามที่มอบหมาย

ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มีปรัชญาการจัดการศึกษาที่เสริมสร้างบุคคลให้เป็นคนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเจริญทางสติปัญญา คุณค่าของจิตใจ การใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบและปรับตัวได้อย่างเหมาะสม

ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มีปณิธานในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ เพียบพร้อมด้วยความรู้ทางวิชาการและวิชาชีพที่ทันสมัย มีความใฝ่รู้ มีความคิดวิเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตลอดจนเป็นบัณฑิตที่มีจริยธรรม คุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคมและดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไป ศึกษาให้เข้าใจเป็นคุณเครื่องเรืองปัญญา แต่ว่าอย่าพึงใช้ทุกอย่างไปที่ศึกษา ชีวิตและเวลาเป็นปัญหาให้จำนน จะใช้วิชาใดจงใส่ใจในเหตุผล ทำใดต้องใจคนนั่นคือผลของวิชา

ขอให้ทุกคนจงโชคดี ตามสติกำลังของแต่ละคน ขอให้ทุกคนจงโชคดี ตามสติกำลังของแต่ละคน