Mr. Jiraphan Srisomphan Department of Computer Education KMITNB

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING
e-Learning แหล่งที่มาข้อมูลอ้างถึง รวบรวม เรียบเรียง : WBI Design
E-Learning.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
เอกสารเคมี Chemistry Literature
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
หนังสือไร้กระดาษ.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
ซอฟต์แวร์.
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข การพัฒนาการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
Green IT กรมทางหลวงชนบท.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
ADDIE Model.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
กราฟเบื้องต้น.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
กราฟเบื้องต้น.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
E-learning.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Mr. Jiraphan Srisomphan Department of Computer Education KMITNB e-Learning e-Learning Mr. Jiraphan Srisomphan Department of Computer Education KMITNB ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. หัวข้อบรรยาย e-Learning บทนำและความเป็นมาของ e-Learning ความหมายของ e-Learning ประโยชน์ของ e-Learning คุณสมบัติของ e-Learning ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning ส่วนประกอบของ e-Learning ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. บทนำ e-Learning ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กระตุ้นให้เกิดการศึกษาผ่านเครือข่าย โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ต สนับสนุนด้านการศึกษา สร้างโอกาสของการเรียนรู้ให้ทัดเทียมกัน สนับสนุนการฝึกอบรมในสถานประกอบการให้ได้รับประโยชน์สูงสุด Online Training ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในลักษณะของ e-Training e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. บทนำ e-Learning มีบทบาทต่อการเรียนการสอนทุกรูปแบบ โดยเฉพาะการศึกษาทางไกล(Distance Learning) สนับสนุนการศึกษาแบบ L3 (Life Long Learning) หมายถึงการศึกษาตลอดชีวิต ผู้เรียนไม่ต้องเสียเวลาเดินทางเข้าร่วมศึกษาในชั้นเรียนและไม่ขึ้นอยู่กับเวลา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ความหมายของ e-Learning e ซึ่งมาจาก Electronic ที่มีความหมายในเชิงของความรวดเร็วโดยทำงานในระบบอัตโนมัติ Learning ซึ่งหมายถึง การเรียน การเรียนรู้ หรือการเรียนการสอน e-Learning Electronic + Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. นิยามตัวอักษร e e – Experience คือประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน e-Extended คือ การใช้ความรู้ที่หลากหลายบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ e- Expanded คือ การขยายความรู้ไปสู่ชุมชนอย่างไม่มีข้อจำกัด e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

ความหมายของ e-Learning การเรียนเนื้อหาหรือสารสนเทศสําหรับการสอนหรือการฝึกอบรม ซึ่งใช้การนําเสนอ ด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใช้ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน  และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยี ของเว็บในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมทั้งใชเทคโนโลยีการจัดการคอร์ส (Course Management System) ในการบริหาร การเรียนในลักษณะใดก็ได  ซึ่งใชการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม วาจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต สัญญาณโทรทัศน  หรือ ดาวเทียม เป็นต้น .................(ถนอมพร) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ความหมายของ e-Learning กระบวนการเรียนรู้ทางไกลอย่างอัตโนมัติผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) ซีดีรอม เครือข่ายอินทราเน็ต เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต ระบบเสมือนจริง (Virtual Reality System) สื่ออื่น ๆ โดยไม่ขึ้นอยู่กับเวลาและสถานที่ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ความหมายของ e-Learning Kurtus กล่าวว่า “e-Learning เป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดเนื้อหาสาระที่สร้างเป็นบทเรียนสำเร็จรูปที่อาจใช้ซีดีรอมเป็นสื่อกลางในการส่งผ่านความรู้หรือใช้เครือข่ายอินทราเน็ตหรือเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รูปแบบของ e-Learning อาจเป็น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI – Computer-Assisted Instruction) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยฝึกอบรม (CBT – Computer-Based Training) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ (WBI – Web-Based Instruction) เพื่อใช้ในการเรียนการสอนทางไกล” e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ความหมายของ e-Learning Courseware Technology Computer Networking Communication Content Exercise/Test e-Learning Media/Aids Activities e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ประโยชน์ของ e-Learning ความสะดวกสบาย (Convenient) สามารถจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนได้ตามความต้องการโดยไม่ต้องอาศัยชั้นเรียน ความสัมพันธ์กับปัจจุบัน (Relevant) สามารถปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระและข้อมูลต่าง ๆ ตามสถานการณ์ปัจจุบันได้ง่าย ความเร็วแบบทันทีทันใด (Immediate) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ประโยชน์ของ e-Learning ความเป็นเลิศของระบบ (Excellent) สามารถนำเสนอเนื้อหาสาระและระบบการจัดการที่มีความเป็นเลิศ ทันสมัย และน่าสนใจ การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนโดยตรง ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนที่อยู่ต่างชุมชนด้วยความสะดวกและมีประสิทธิภาพ เพื่อร่วมกันสร้างสรรค์องค์ความรู้ในลักษณะของระบบการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning System) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ประโยชน์ของ e-Learning ความเป็นสหวิชาการ (Interdisciplinary) เป็นการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกันหลายวิชา หรือเรียกว่า สหวิชาการ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

คุณสมบัติของ e-Learning e-Learning is dynamic หมายถึง เนื้อหาสาระและข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในระบบ e-Learning เป็นข้อมูลที่มีความเป็นพลวัต (Dynamic) เปลี่ยนแปลงได้ง่าย e-Learning operates in real time หมายถึง การทำงานของระบบ e-Learning เป็นระบบเวลาจริง e-Learning is empowering หมายถึง ระบบ e-Learning สามารถควบคุมการนำเสนอเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียน การนำเสนอสื่อการเรียนการสอน และส่วนของการจัดการอื่น ๆ ตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

คุณสมบัติของ e-Learning e-Learning is individual หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของ e-Learning จะสัมพันธ์กับประสบการณ์ของผู้เรียนแต่ละคน e-Learning is comprehensive หมายถึง ความสามารถของ e-Learning ในการจัดการกับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ อย่างเข้าใจและชาญฉลาด e-Learning enables the enterprise หมายถึง ความสามารถในการสร้างงานหรือภารกิจของ e-Learning ต่อกลุ่มผู้เรียนหรือสมาชิกผู้ประกอบการด้วยกัน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

คุณสมบัติของ e-Learning e-Learning is effective หมายถึง ความสามารถทางด้านประสิทธิผลของ e-Learning ในการทำให้ผู้เรียนมีการปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนแล้วได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ตลอดจนมีความคงทนในการเรียนรู้สูง (Retention of Learning) e-Learning is express หมายถึง ความรวดเร็วของ e-Learning ในการสร้างสรรค์องค์ความรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างรวดเร็วตามต้องการ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

คุณสมบัติของ e-Learning e-Learning is experiencetial ผู้เรียนมีประสบการณ์เหมือนการเรียนในห้องเรียนหลังจากเรียนบทเรียนตามปัจจัยที่ผู้ออกแบบตั้งไว้ การติดตามบทเรียน (Engagement) การอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) การสร้างสถานการจำลองและการฝึกปฏิบัติ (Simulations and Practice) การช่วยเหลือ (Coaching) การแก้ไขและการรักษาบทเรียน (Remediation) สร้างชุมชนการเรียนรู้ (Pier Learning) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

คุณสมบัติของ e-Learning e-Learning is experiencetial (ต่อ) การเรียนรู้แบบมีชีวิตชีวา (Action Learning) การสนับสนุนความสามารถ (Support Performance) ความเข้มข้น (Intensity) ของเนื้อหา การประเมินผลและการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Assessment and Feedback) วัฒนธรรมการสอน (Teaching Culture) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning Student Web-Based Learning Materials Textbooks/Journals Tutorials e-Libraries Lectures e-Discussion Groups Quality and Assessment e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning ผู้เรียน (Student) วัสดุการเรียนรู้บนเว็บ (Web-Based Learning Materials) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเว็บ WBI (Web-Based Instruction) WBT (Web-Based Training) IBT (Internet-Based Training) NBT (Net-Based Training) สไลด์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Slide) Powerpoint Slide e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Books) การใช้โปรแกรม Acrobat Reader อ่านไฟล์เอกสาร pdf เอกสารคำสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Lecture Notes) ไฟล์ doc, ไฟล์ html วีดิทัศน์และเสียงดิจิตอล (Video and Digital Sound) การใช้โปรแกรม RealVideo ดูภาพวีดิทัศน์ และ RealAudio ฟังเสียง เอกสารไฮเปอร์เท็กซ์และไฮเปอร์มีเดีย (Hypertext and Hypermedia Document) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning การบรรยายการสอน (Lectures) ใช้วิธีการบรรยายแบบออนไลน์ผ่านช่องทางโทรคมนาคม ในส่วนเนื้อหาที่สำคัญเป็นครั้งคราว ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบดาวเทียม ระบบโทรทัศน์ตามสาย (Cable TV) ช่องทางอื่น ๆ ตามที่ตกลงกันไว้ก่อนระหว่างผู้ดำเนินการและผู้เรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning การสอนเสริม (Tutorials) เพื่อเพิ่มความเข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่มีความยาก กระทำโดยวิธีการออนไลน์ผ่านเครือข่ายเช่นเดียวกันกับการบรรยายการสอน หนังสือ/บทความ (Textbooks/Journal) เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติม ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Libraries) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning การวิจารณ์กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (e-Discussion Groups) เพื่อสร้างบรรยากาศให้ใกล้เคียงห้องเรียนจริงผ่านสื่อออนไลน์ แบ่งตามการใช้งานเป็น ระบบการดำเนินการพร้อมกัน (Synchronous System) การสนทนาแบบเวลาจริง (Realtime Chat) เช่น การใช้โปรแกรม ICQ, MSN หรือ IRC (Internet Relay Chat) การประชุมทางไกลด้วยวีดิทัศน์และเสียง (Video and Audio Teleconferencing) เช่น การใช้โปรแกรม NetMeetings สำหรับการประชุมทางไกลร่วมกัน การเรียนรู้แบบร่วมกัน (Collaborative Learning System) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ข่ายงาน (Framework) ของ e-Learning ระบบการดำเนินการไม่พร้อมกัน (Asynchronous System) การใช้กระดานอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Board) เช่น การใช้กระดานข่าว BBS (Bulletin Board System), Webboard, Newsgroup การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail) เพื่อเป็นช่องทางในการถามตอบปัญหาต่าง ๆ การใช้บริการอื่น ๆ เช่น การถ่ายโอนข้อมูลโดยใช้ ftp e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning Learning Management System (LMS) Content Management System (CMS) Test Management System (TMS) Delivery Management System (DMS) e-Learning Student ส่วนประกอบของ e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning Learning Management System (LMS) :ระบบการจัดการด้านการเรียนรู้ จะต้องนำพาผู้เรียนไปยังเป้าหมายที่ต้องการ นับตั้งแต่การลงทะเบียนเรียนจนถึงการประเมินผล เว็บไซต์ Click2learn : LMS เป็นระบบสำหรับนำทางและจัดการเกี่ยวกับบทเรียนทั้งหมด ทั้งความต้องการและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้น CISCO e-Learning Solutions : LMS เป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของ e-Learning ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกอบรมตามประสบการณ์ของตนเอง ซึ่งเป็นระบบที่ทำหน้าที่จัดการรายการต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ นับตั้งแต่การลงทะเบียน การสืบท่อง (Navigation) การเลือกบทเรียน และการต่อเชื่อมเข้าระบบ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS KMITNB RMS (Registration Management System) for Virtual University e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS ขั้นที่ 5 เลือกปีการศึกษา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS การบริหารและการจัดการบทเรียน (Administration) การจัดการรวบรวมเนื้อหาบทเรียน (Organizational Management) การจัดการด้านเวลา (Time Management) การรายงานการเรียน (Reporting) การวิเคราะห์ความต้องการ (Needs Analysis) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : LMS การเตรียมการวางแผนบทเรียน (Preplanning) การจัดตารางเวลาการเรียน (Scheduling) การจัดการด้านองค์ความรู้ (Knowledge Management – KM) การวางแผนด้านทรัพยากรข้อมูล (Resources Planning) การจัดการด้านการออกใบรับรองผล (Qualification Management) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS Content Management System (CMS) หมายถึงระบบการจัดการด้านเนื้อหา ซึ่งเป็นส่วนบริการสำหรับผู้ออกแบบหรือผู้พัฒนาบทเรียนในการสร้างสรรค์และนำเสนอเนื้อหาบทเรียน เนื้อหา ส่วนของการลงทะเบียน การรวบรวม การจัดการเนื้อหา การนำส่งเนื้อหา การพิมพ์เป็นเอกสาร หรือการบันทึกลงซีดีรอม e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : CMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning Delivery Management System (DMS) หมายถึง ระบบการจัดการด้านการนำส่ง ซึ่งเป็นการนำส่งบทเรียนไปยังผู้เรียนได้ศึกษาตามวัตถุประสงค์ การนำส่งบทเรียนจึงรวมถึง การจัดการบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การพิมพ์เป็นเอกสารสำหรับผู้เรียน การบันทึกลงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การนำส่งบทเรียนในรูปแบบอื่น ๆ ไปยังผู้เรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : DMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning Test Management System (TMS) หมายถึง ระบบการจัดการด้านการทดสอบ การนำข้อสอบเข้าสู่ระบบ การดำเนินการสอบให้กับผู้เรียน การประเมินผลความก้าวหน้าของผู้เรียนในระบบ e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ส่วนประกอบของ e-Learning : TMS ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning Blackboard’s Courseinfo (www.blackboard.com), USA. Lotus LearningSpace (www.lotus.com) ของ IBM Corp., USA. WebCT (www.webct.com) ของ University of British Columbia, Canada Topclass (www.wbtsystems.com) ของ WBT System, USA. SAP (www.sap.com) ของ SAP’s Corporate Research Center, Germany Education Sphere (www.educationsphere.com) ของ USA e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ซอฟท์แวร์สำหรับพัฒนา e-Learning บทเรียนและ Virtual Lab ในระบบ e-Learning ของ Igenetic, Germany ที่ใช้ SAP เป็น LMS e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning Service Center e-Learning Center VPN (Virtual Private Network)  Central Servers  Search Engine  Learn Center  PC  Proxy Servers Virtual Private Network (VPN) สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

สถาปัตยกรรมเครือข่ายของ e-Learning ศูนย์บริการ (Service Center) เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลาง (Central Servers) เครื่องมือช่วยค้นหา (Search Engine) เครือข่ายส่วนตัวเสมือน (Virtual Private Network - VPN) ศูนย์การเรียนรู้ (e-Learning Center) ศูนย์เรียนรู้ (Learn Center) เครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) เครื่องพร๊อกซีเซิร์ฟเวอร์ (Proxy Servers) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดำเนินการด้านเทคโนโลยี การดำเนินการด้านเนื้อหาบทเรียน การดำเนินการด้านการบริหารและจัดการระบบ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดำเนินการด้านเทคโนโลยี เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology) เซิร์ฟเวอร์ส่วนกลาง (Central Servers) ที่มีความเร็วในการประมลผลสูง มีหน่วยเก็บความจุที่มีปริมาณมากเพียงพอ เทคโนโลยีเครือข่าย (Network Technology) เครือข่ายอินทราเน็ต อินเตอร์เน็ต และเครือข่ายเอ๊กซ์ทราเน็ต เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) สายโทรศัพท์ สายเช่า เคเบิลใต้น้ำ ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร หรือระบบการสื่อสารอื่น e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดำเนินการด้านเนื้อหาบทเรียน ผู้จัดเตรียมเนื้อหาบทเรียน (Content Provider) ออกแบบ วิเคราะห์ และสังเคราะห์เนื้อหาสาระ ตั้งแต่โครงสร้างของบทเรียน เนื้อหาบทเรียน สื่อการเรียนการสอน วิธีการสอน กิจกรรม การตรวจปรับ และคำถามที่จะใช้ในบทเรียนเพื่อการประเมินผลการเรียนรู้ ผู้จัดการบทเรียน (Program Director) มาออกแบบเป็นคอร์สแวร์ของบทเรียน ซึ่งผลลัพธ์ในขั้นนี้คือบทดำเนินเรื่อง (Storyboard) และผังงานของบทเรียน (Lesson Flowchart) นักโปรแกรม (Programmer) ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) จำแนกออกเป็น 2 ด้าน ด้านเนื้อหา และด้านเทคนิคและวิธีการ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning การดำเนินการด้านการบริหารและจัดการระบบ เป็นการเลือกใช้ LMS ในการ การประชาสัมพันธ์หลักสูตร การจัดตารางเวลา การลงทะเบียน การกำหนดสิทธิ์ การรักษาความปลอดภัย การสืบท่อง การค้นหา การจัดการเรียนการสอน การรายงานผลการเรียน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การดำเนินการพัฒนาระบบ e-Learning ประเด็นในการพิจารณาในการดำเนินการด้าน การบริหารและจัดการระบบ การเลือกใช้ระบบ LMS ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การคุ้มค่าต่อการลงทุน การช่วยส่งเสริมและพัฒนาทักษะของผู้เรียน กระบวนการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ผู้เรียนมีต่อบทเรียน การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของการศึกษา การพิจารณาปัจจัยด้านกำลังคน e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย มหาวิทยาลัยรามคำแหงตั้งศูนย์ e-Learning โดยใช้ Education Sphere เป็น LMS จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเครือข่าย www.chulaonline.com เพื่อให้บริการการเรียนการสอนระบบ e-Learning ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือจัดตั้งเครือข่าย www.kmitnbonline.com e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

การจัดการศึกษาระบบ e-Learning ในมหาวิทยาลัยของประเทศไทย ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

เทคนิคการใช้ e-Learning กับการเรียนการสอน

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. หัวข้อบรรยาย ลักษณะการงาน e-Learning ของสถาบัน ข้อควรระวังในการเตรียมสื่อ โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาสื่อ ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning แนวทางการพัฒนาระบบ e-Learning ในอนาคต e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

ลักษณะการงาน e-Learning ของสถาบัน ระบบ KLMS (http://it.kmitnb.ac.th) ประกอบด้วย ระบบของครู ระบบของนักเรียน ระบบของผู้ปกครอง ระบบของผู้ดูแลระบบ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

การสอนสดผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

ข้อควรระวังในการเตรียมสื่อ การจราจรของข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต Vint Cerf (ที่ถูกเรียกขานกันว่าเป็นบิดาแห่งอินเตอร์เน็ต) ประมาณว่าการจราจรของข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตนั้นจะเพิ่มทวีคูณทุกๆ 6 เดือน โดยยังมองไม่เห็นเลยว่าจะสิ้นสุดเมื่อใด Christian Huitema กล่าวว่ามีคลื่นอยู่สามลูกที่มาแรงบนอินเตอร์เน็ต (อันส่งผลให้จราจรบนอินเตอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้น) คลื่นลูกแรกก็คือตัว WWW คลื่นลูกที่สองคือการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการสื่อเสียง และการประชุมทางไกล และคลื่นลูกที่สามคือเกม e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

กฎเบื้องต้นของการพัฒนาสื่อ e-Learning การลดปริมาณข้อมูล พยายามลดจำนวนข้อมูลให้เหมาะสมกับระบบเครือข่าย "หนึ่งภาพนั้นแทนคำบรรยายได้กว่าพันคำ" เลือกใช้ชนิดของภาพให้เหมาะสม GIF JPEG รูปมีขนาดเล็ก เช่นรูปไอคอน หรือรูปตัวอย่างขนาดเล็ก รูปวาดกราฟิก โลโก้ หรือสัญลักษณ์ ภาพถ่าย ภาพที่มีสีสันต่อเนื่องขนาดเล็ก ภาพถ่าย ภาพที่มีสีสันต่อเนื่อง ภาพที่ใช้สีมากๆ เกิน 256 สี ภาพที่ใช้เป็นหลังฉาก (background) เมื่อภาพแบบ GIF มีขนาดใหญ่กว่า e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

กฎเบื้องต้นของการพัฒนาสื่อ e-Learning การลดจำนวนการโต้ตอบ จำนวนรูปเป็นปัจจัยหนึ่งในการกำหนดจำนวนครั้งของการโต้ตอบ รูปภาพแต่ละภาพที่ใส่ในหน้าข้อมูล ควรจะต้องระบุขนาดไว้ด้วย ทั้งนี้เนื่องจาก WWW browser โดยทั่วไปต้องการทราบขนาดของรูปก่อนอ่านรูปเพื่อจะได้เตรียมวางรูปแบบที่จะนำเสนอบนจอภาพได้ ตัวอย่างเช่น <IMG SRC="mypicture.gif" WIDTH=150 HEIGHT=100> รูปภาพที่อ้างอิงถึงในหน้าข้อมูลควรเก็บอยู่ในเครื่องให้บริการเดียวกัน <IMG SRC="http://www.othermachine.com/picture.gif" WIDTH=150 HEIGHT=100> e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

กฎเบื้องต้นของการพัฒนาสื่อ e-Learning การติดตั้งเครื่องตัวแทน(proxy server) หน้าที่หนึ่งของเครื่องตัวแทนคือเมื่อใดที่ขอข้อมูลมาได้ จะเก็บสำเนาข้อมูลนั้นไว้ที่เครื่องตัวแทนด้วย ดังนั้นเมื่อมีผู้ใช้รายใดขอให้ช่วยเป็นตัวแทนขอข้อมูลให้ เครื่องตัวแทนจะตรวจสอบก่อนว่า หน้าข้อมูลที่ผู้ใช้ขอมาให้ขอแทนนั้น เคยมีผู้ใช้ขออ่านก่อนหน้านี้หรือไม่ ถ้ามีก็ส่งกลับเป็นผลลัพธ์ได้เลย ไม่ต้องไปขอจากต้นตอข้อมูลให้เสียเวลา e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาสื่อ โปรแกรมสร้างภาพนิ่ง Adobe Photoshop Illustrator โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว Macromedia Flash 3D Max โปรแกรมสร้างเว็บเพจ Macromedia Dreamweaver อื่น ๆ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning ปัญหาด้านเทคนิค ปัญหาด้านฮาร์ดแวร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รวมทั้งอุปกรณ์ต่อเชื่อมระบบ ซึ่งมี Band width ต่ำ ความสามารถของซอฟท์แวร์ในการบีบอัดข้อมูลยังไม่สมบูรณ์ ทำให้ไม่สามารถส่งข้อมูล Multimedia ได้ดี ความไม่พร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะชนบท ปัญหาลิขสิทธิ์ของซอฟท์แวร์ ซึ่งมีราคาสูง e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning ความเป็นมาตรฐานของ e-Learning ซึ่งยังไม่มีทำให้มักออกมาในรูปแบบ e-Book การรักษาความปลอดภัยของระบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนของ e-Learning ให้เหมือนจริงทำได้ยาก e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ปัญหาและอุปสรรคของ e-Learning ปัญหาทั่ว ๆ ไป จำนวนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาเนื้อหาสาระของบทเรียนที่ใช้ในระบบ e-Learning ยังมีจำนวนน้อย ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างบุคลากรที่ทำหน้าที่พัฒนาบทเรียนร่วมกัน ขาดงบประมาณและการสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ค่าใช้จ่ายในการต่อเชื่อมเข้ากับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตแต่ละครั้งมีราคาแพง การยอมรับของสังคมในการศึกษาทางไกลยังค่อนข้างต่ำ e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

แนวทางการพัฒนาระบบ e-Learning ในอนาคต m-Learning (Mobile Learning) c-Learning (Collaborative Learning) z-Learning (Zigzag Learning) e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ. ? คำถาม e-Learning ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สจพ.