วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
ชื่อผู้วิจัย นางศศิธร บุญภูมิ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาแผนกการบัญชีระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาทักษะการใช้เลื่อยมือตัดชิ้นงาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ 1 ของนักเรียนช่างยนต์ สาขางานยานยนต์ ชั้นปีที่ 1 คณะช่างอุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาทักษะการคำนวณ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยใช้ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ชื่อผู้วิจัย ธัญลักษณ์ เจริญพงศ์ธนกุล

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ โดยการใช้ชุดฝึกทักษะ ทางคณิตศาสตร์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 3. เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน  ความพึงพอใจของนักศึกษาที่ เรียนด้วยชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ตัวแปรต้น

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 มีจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 11 ห้องเรียน นักศึกษารวมทั้งสิ้น 480 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ ห้อง 7 จำนวนนักศึกษา 45 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบบเจาะจง (Purposive sampling) นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อง 7 จำนวนนักศึกษา 45 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบบเจาะจง (Purposive sampling)

ผลวิเคราะห์ ตารางที่ 1 การหาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1

ผลวิเคราะห์ ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ โดยการใช้ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1

ตารางที่ 3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1

ตารางที่ 3 (ต่อ) การวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1

ค่าดัชนีความสอดคล้อง(IOC) อยู่ในระหว่าง 0.63 – 1.00 สรุปผลการวิจัย การสร้างและหาประสิทธิภาพ ของชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ค่าดัชนีความสอดคล้อง(IOC) อยู่ในระหว่าง 0.63 – 1.00 มีประสิทธิภาพ 81.75 / 85.00 การจัดการเรียนรู้โดย ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 10.23 คะแนน คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 22.48 คะแนน  

ข้อเสนอแนะ การนำผลวิจัยไปใช้ การวิจัยครั้งต่อไป  ผู้สอนควรสังเกตและประเมินผู้เรียนตลอดเวลา  ผู้สอนควรมีความยืดหยุ่นเรื่องเวลาตามความเหมาะสม  ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายผลหลังการใช้ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์ การวิจัยครั้งต่อไป  ควรมีการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างการใช้ ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์กับการจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่น  ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการสร้างชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์  ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับความคงทนภายหลังการพัฒนา ชุดฝึกทักษะทางคณิตศาสตร์