งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ของนักศึกษาชั้น ปวช.1 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ โดยบูรณาการกับคุณธรรม 8 ประการ นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559

2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม จำแนกเป็นคะแนนเฉลี่ยรายวิชา และคะแนนคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในวิชาคณิตศาสตร์

3 วัตถุประสงค์การวิจัย
พัฒนาพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ของนักศึกษา ชั้น ปวช.1 โดยบูรณาการกับคุณธรรมแปดประการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ของนักศึกษาชั้นปวช.1 โดยบูรณาการกับคุณธรรมแปดประการ 3. ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาชั้น ปวช.1 ที่มีต่อ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยบูรณาการกับ คุณธรรมแปดประการ

4 การจัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยบูรณาการกับ
กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรต้น การจัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยบูรณาการกับ คุณธรรมแปดประการ ตัวแปรตาม 1. พฤติกรรมการเรียนวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานของ นักศึกษา 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา 3. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่ มีต่อการเรียนวิชคณิตศาสตร์ พื้นฐาน โดยบูรณาการกับ

5 วิธีดำเนินการวิจัย ประชากร
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้การศึกษาแบบกลุ่มเดียว วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังเรียน (One Group Pretest – Posttest Design) แบบแผนการวิจัย นักศึกษาชั้น ปวช.1 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา จำนวน 190 คน ประชากร นักศึกษาชั้น ปวช.1/5 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ปีการศึกษา จำนวน 40 คน ใช้วิธีการ ได้กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) กลุ่มตัวอย่าง

6 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการสอนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1.1 วิเคราะห์เนื้อหาและหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1.2 สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรและจัดทำแผนการสอน 1.3 นำแผนการสอนส่งให้หัวหน้าคณะวิชาตรวจประเมิน ความถูกต้อง 1.4 นำแผนการสอนเสนอรองผู้อำนวยการฝ่าย วิชาการเพื่อประเมินและอนุมัติ

7 2. แบบสังเกตพฤติกรรมคุณธรรมแปดประการ
2.1 การสร้างแบบสังเกตพฤติกรรมคุณธรรมแปดประการ 2.1.1 ศึกษาวิธีการสร้างแบบสังเกตและวิธีการหาคุณภาพของแบบสังเกต 2.1.2 สร้างแบบสังเกตพฤติกรรมคุณธรรมแปดประการ จำนวน 1 ฉบับ ประกอบด้วย 1) ขยัน 2) ประหยัด 3) ซื่อสัตย์ 4) มีวินัย 5) สุภาพ 6) สะอาด ) สามัคคี 8) มีน้ำใจ 2.2 สร้างแบบประเมินแบบสังเกตพฤติกรรมเพื่อหาดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 2.3 หาคุณภาพของแบบสังเกตพฤติกรรม ดังนี้ ให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน พิจารณาตรวจสอบคุณภาพ นำผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาตรวจสอบหาค่า IOC และปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ

8 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนหลังเรียน วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
3.1 การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 3.2 สร้างแบบประเมินแบบทดสอบโดยหาดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 3.3 หาคุณภาพของแบบทดสอบ 3.3.1 นำแบบทดสอบไปทดลองใช้ (Try out) 3.3.2 วิเพื่อหาค่าความยากง่าย (p) และหาค่าอำนาจจำแนก (r3 3.3.3 เคราะห์ค่าความเชื่อมั่น (KR-20) และคัดเลือกแบบทดสอบที่มี ค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง และอำนาจจำแนก (r) ตั้งแต่ ขึ้นไป

9 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชั้น ปวช
4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.1 ที่มีต่อการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยบูรณาการคุณธรรมแปดประการ สร้างแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 10 ข้อ และนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา เพื่อคัดเลือกข้อคำถามที่มีดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.6 ขึ้นไป การเก็บรวบรวมข้อมูล กำหนดวันเวลาทำการทดลองและเตรียมเครื่องมือการวิจัย และดำเนินการโดย ทดสอบก่อนเรียน แล้วจึงจัดกิจกรรมการเรียนกับกลุ่มตัวอย่าง เป็นระยะเวลา 18 วัน วันละ 2 ชั่วโมง รวม 36 ชั่วโมง จากนั้นทดสอบหลังเรียนด้วย แบบทดสอบฉบับเดียวกับก่อนเรียนและสอบถามความพึงพอใจ แล้วจึงนำคะแนนการทดลองที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูล

10 สรุปผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ พื้นฐานของนักศึกษาชั้น ปวช.1 โดยบูรณาการกับคุณธรรมแปดประการ ที่ พฤติกรรม ค่าเฉลี่ย sd ระดับการประเมิน 1 ขยัน 4.74 0.31 มากที่สุด 2 มีน้ำใจ 4.71 0.32 3 ซื่อสัตย์ 4.67 0.35 4 สามัคคี 4.66 0.33 5 สุภาพ 4.65 0.39 6 ประหยัด 4.62 0.37 7 มีวินัย 4.59 0.41 8 สะอาด 4.58 0.43 เฉลี่ย 0.36

11 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน สำหรับนักศึกษาชั้น ปวช.1 ประเภทวิชา พาณิชยกรรม โดยบูรณาการกับคุณธรรมแปดประการ คะแนนทดสอบ N ก่อนเรียน 40 5.67 1.65 50.63 0.000 หลังเรียน 18.5 7 1.08 จากตาราง พบว่า คะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 โดยค่าที่คำนวณได้มีค่า 50.63 มากกว่าค่าที่ได้จากการเปิดตารางซึ่งมีค่าเท่ากับ 2.43

12 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียน
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยบูรณาการกับคุณธรรมแปดประการ ผลการศึกษา พบว่านักศึกษาชั้น ปวช.1/5 ปีการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ จำนวน 40 คน มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.56 ถึง 4.72

13 อภิปรายผลการวิจัย 1. การที่นักศึกษามีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงการเป็นผู้มีคุณธรรมแปดประการในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 2. นักศึกษาชัน ปวช.1 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. นักศึกษาชั้น ปวช.1 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม มีความพึงพอใจต่อ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยบูรณาการกับ คุณธรรมแปดประการ

14 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
1. ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาต่อยอดงานในหน้าที่ 1.1 ควรส่งเสริมคุณธรรมในสถานศึกษา โดยเน้นหลักคุณธรรมแปดประการ 1.2 ควรกำหนดเป็นนโยบายของโรงเรียนที่จะรณรงค์ให้ครู บุคลากรและ นักศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมแปดประการ 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม ให้กับนักศึกษาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และนำไป ทดลองใช้อย่างเป็นกระบวนการในสถานศึกษา เพื่อพัฒนา ให้เป็นสถานศึกษาต้นแบบด้านคุณธรรม

15 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการวิจัย
ผลกระทบเชิงบวกได้แก่ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.1/5 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยพิจารณาได้จากการที่นักศึกษาเข้าเรียนตรงต่อในทุกวิชา นักศึกษาขาดเรียนและหนีเรียนน้อยลง มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่มากขึ้น ส่งงานตรงเวลา ไม่รบกวนเพื่อนขณะเรียน มีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยรวมดีขึ้น


ดาวน์โหลด ppt นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google