ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
นายภาณุวัฒน์ วงศ์เทพเตียน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อผู้วิจัย สิตานันท์ ธีรศาสตร์ศิลป์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ ของนักศึกษา ปวส. 1 สาขาการบัญชี โดยชุดการสอน ผู้วิจัย นางนพรัตน์ สุวรรณโณ.
LOGO.  สำหรับผู้ที่เรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนั้น หลักการ เขียนโปรแกรมเป็นอีกรายวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนต้องมีความรู้และ ความเข้าใจ เพื่อให้ในการพัฒนาโปรแกรมและเพื่อนำไป.
โดย นางสาวราตรี สมความคิด สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาทักษะการคำนวณเรื่องระบบเลขฐาน โดยใช้แบบฝึกทักษะของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาสถิติเบื้องต้นเรื่องทฤษฎีความน่าจะเป็น เบื้องต้น Development of Computer Assisted Instruction for Introduction to.
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.
การใช้แบบฝึกทักษะเกม Spelling Bee เพื่อพัฒนาความสามารถในการสะกด คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) สาขา เทคนิคคอมพิวเตอร์

อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต บทความวิจัย เรื่อง การหาประสิทธิภาพสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

ปัญหาการวิจัย ผู้วิจัยต้องการสร้างและหาประสิทธิภาพสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2.เพื่อหาประสิทธิภาพสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ผังสรุปสำคัญ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ประจำปีการศึกษา 2554 จำนวน 27 คน กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต จำนวน 27 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ -สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) ตัวแปรตาม -ประสิทธิภาพของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)

ผังสรุปสำคัญ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล สื่อการสอนแบบโปรแกรม Power-Pointและโปรแกรม Microsoft Visual Basic 6.0 ที่ผู้วิจัยสร้าง แผนการสอน เอกสารประกอบคำสอน และใช้แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนและผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเป็นข้อสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก เป็นแบบทดสอบในหน่วยการเรียนแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนเป็นแบบ 4 ตัวเลือก จำนวนหน่วยละ 10 ข้อ รวม 100 ข้อ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเป็นแบบ 4 ตัวเลือก จำนวน 100 ข้อ ซึ่งผู้สอนได้สร้างขึ้นเอง และได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพมาแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ใช้ค่าร้อยละ(Percentage)ในการหาประสิทธิภาพสื่อ โดยใช้ค่าเปรียบเทียบ E1/E2 ซึ่งกำหนดให้ค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 70/70

ผังสรุปสำคัญ ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) สำหรับนักเรียนชั้น ปวส. ผลการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) โดยการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด(70/70) โดยใช้ E1/E2 การทดลอง มีรายละเอียดดังนี้ นำสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)ไปใช้สอนกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต แล้วนำผลการทดลองไปวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ( E1/E2 ) พบว่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือมีประสิทธิภาพ 87.03/75.62 รายละเอียดดังตารางที่ 1

ผังสรุปสำคัญ

สรุปผลการวิจัย ตารางที่ 1 จากการทดสอบหาค่าประสิทธิภาพของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 สำหรับนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต จำนวน 27 คน พบว่า ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียน(E1) มีค่าเท่ากับ 87.03 และร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(E2) มีค่าเท่ากับ 75.62 แสดงว่าประสิทธิภาพของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 มีค่าเท่ากับ 87.03/75.62 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ 70/70 ปรากฏว่าสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)วิชาวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 70/70

สรุปผลการวิจัย จากการทดสอบการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ผลจากการทดสอบหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเรียน โดยใช้วิธีสอนด้วยการ ประยุกต์ใช้วิธีสอน โดยการใช้สื่อ ปรากฏว่าผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของสื่อ(E1/E2) ซึ่งพบว่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด(70/70) คือมีประสิทธิภาพ 87.03/75.62

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย นำไปพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)สำหรับในรายวิชาต่างๆเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน