เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ แนวทางการบริหารจัดการ ระบบบริการสุขภาพ : ระบบการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ เศรณีย์ จุฬาเสรีกุล สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ Powerpoint Templates

ภาพรวมยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสุขภาพ วิสัยทัศน์กระทรวงฯ : คนไทยสุขภาพดีฯ Basic Package Strategic Focus Specific Issues P&P Curative 20 เป้าหมาย 3 กองทุน 5 กลุ่มวัย 61 เป้าหมาย โครงการพระราชดำริ/เฉลิมพระเกียรติ PPP Medical Hub ยาเสพติด ASEAN and International Health Border Health จังหวัดชายแดนภาคใต้ กทม.

เป้าหมายของกระทรวง 10 สาขา 1. หัวใจและหลอดเลือด 2. มะเร็ง 3. อุบัติเหตุ บรรลุ KPI 10 สาขา 4.ทารกแรกเกิด 5. จิตเวช 6. ตาและไต 7. 5 สาขา 8. ทันตกรรม 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 10. NCD 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการ คุณภาพ Back Bone 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ นอก สธ. การเมือง สนับสนุน

VISION แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) “ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จ ภายในเครือข่ายบริการ”

ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ในระดับพื้นที่ พื้นที่มีกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนระดับพื้นที่เพื่อแก้ปัญหา/ภาวะโรคในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล การบูรณาการดำเนินงานร่วมกันของทุกภาคีระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการ แผน งบประมาณ กำลังคน และข้อมูล

ความคาดหวังต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค ในระดับพื้นที่ (ต่อ) ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และการดูแลสุขภาพตนเอง การบูรณาการงานบริการสาธารณสุขและงบประมาณ (P&P, รักษา ฟื้นฟูฯ) ในระดับพื้นที่โดยใช้แนวคิด Evidence based การจัดการงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า มีระบบการกำกับติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

องค์การอนามัยโลก (WHO FCTC) ข้อ 14 การเลิกบุหรี่ และการบำบัดรักษา กรอบอนุสัญญาว่าด้วย การควบคุมยาสูบของ องค์การอนามัยโลก (WHO FCTC) ข้อ 14 การเลิกบุหรี่ และการบำบัดรักษา

มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ ตาม FCTC ข้อ 14 พัฒนาและเผยแพร่คู่มือฉบับครบถ้วน ครอบคลุมและเหมาะสม ซึ่งตั้งอยู่บนหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ และทางปฏิบัติที่ดีที่สุด โดยคำนึงถึงสถานการณ์ของประเทศและลำดับความสำคัญก่อนหลัง และให้ใช้มาตรการต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพเพื่อที่จะส่งเสริม การเลิกใช้ยาสูบ และการรักษา การติดบุหรี่ที่เพียงพอ 1

มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ ตาม FCTC ข้อ 14 (ต่อ) 2 2.1 ออกแบบ และดำเนินโครงการที่มี ประสิทธิภาพซึ่งมุ่งที่จะส่งเสริมการเลิกใช้ยาสูบในสถานที่ 2.2 รวบรวมการวินิจฉัยโรค และการรักษา การติดบุหรี่ ตลอดจนการให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกใช้ยาสูบไว้ในกลยุทธ์ แผนและโครงการด้านสาธารณสุขและการศึกษาแห่งชาติ

มาตรการดำเนินการควบคุมยาสูบ ตาม FCTC ข้อ 14 (ต่อ) 2 2.3 จัดตั้งโครงการศูนย์ฟื้นฟูและอำนวยความสะดวกในการรักษาสุขภาพ เพื่อวินิจฉัยให้คำปรึกษา ป้องกัน และรักษาการติดบุหรี่ 2.4 ร่วมมือกับภาคีอื่นๆ เพื่อให้การรักษา การติดบุหรี่ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ยาสามารถ เข้าถึงได้ง่าย และมีค่าใช้จ่ายไม่สูง มากนัก

แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ. 2555 - 2557 การป้องกันมิให้เกิดผู้บริโภคยาสูบรายใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมให้ผู้บริโภคลด และเลิกใช้ยาสูบ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การลดพิษภัยของผลิตภัณฑ์ยาสูบ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ปลอดควันบุหรี่ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างเสริมความเข้มแข็งและพัฒนาขีดความสามารถ ในการดำเนินงานควบคุมยาสูบของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การควบคุมการค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ผิดกฎหมาย ยุทธศาสตร์ที่ 6 การแก้ปัญหาการควบคุมยาสูบโดยใช้มาตรการทางภาษี ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเฝ้าระวังและควบคุมอุตสาหกรรมยาสูบ ยุทธ์ศาสตร์ที่ 8

แผนความร่วมมือการควบคุมยาสูบ 1. การพัฒนานโยบายและการบังคับใช้กฎหมาย - คณะกรรมการควบคุมการบริโภคยาสูบแห่งชาติ (คบยช.) - กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ แกนเชื่อมประสาน เสริมพลัง ความเข้มแข็ง 3. การพัฒนาเครือข่าย และการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และบริการเลิกบุหรี่ - ภาคีรณรงค์ - สื่อมวลชน - องค์กรวิชาชีพสุขภาพ - Quitline (1600) 2. การพัฒนาวิชาการและระบบข้อมูลข่าวสาร - ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้ฯ มหิดล (ศจย.) แผนความร่วมมือการควบคุมยาสูบใช้หลักสามเหลี่ยมเขยื่อนภูเขา ซึ่งต้องอาศัยความมื่อทั้งภาครัฐ ฝ่ายวิชาการ และ ภาคประชาสังคมในการร่วมกันดำเนินการเพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบต่อไป

มาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อเป้าหมาย ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ พ.ศ. 2555 - 2557 มาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย / การปิดช่องว่างของกฎหมาย / ร่วมผลักดันร่างพระราชบัญญัติควบคุม การบริโภคยาสูบพ.ศ. …. สร้างความร่วมมือการทำงานเชิงรุกในการเฝ้าระวังควบคุมยาสูบแบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน พัฒนาระบบบริการเลิกบุหรี่เพื่อลดปริมาณการบริโภคยาสูบ พัฒนาการสื่อสารสาธารณะและประชาสัมพันธ์เพื่อควบคุมยาสูบแบบมีส่วนร่วม

เป้าหมายสูงสุด การพัฒนาระบบการให้บริการ บำบัดผู้เสพยาสูบ

ช่วยลดทอนปัญหาจาก NCD ได้ ช่วยลดทอนปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค ภาครัฐสามารถปกป้องชีวิตของคนไทยจาก การเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิตได้ ลดภาระโรคอันเกิดจากยาสูบได้ และลดการสูญเสีย การเจ็บป่วย เสียชีวิตของคนไทย ก่อนวัยอันควร จากโรคที่เกิดจากบริโภคยาสูบได้ ปกป้องชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทย

การพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบ การเพิ่มความเข้มข้นเชิงนโยบายใน การควบคุมยาสูบ ดังนี้ 1. การขยายภาพคำเตือนบนซองบุหรี่ 2. การปรับขึ้นเพดานภาษียาสูบ 3. การห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบทุกประเภท ในทุกรูปแบบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างเคร่งครัด

การพัฒนาระบบบริการบำบัดผู้เสพยาสูบ(ต่อ) การจัดระบบบริการเลิกบุหรี่ให้ประชาชนเข้าถึงได้โดยง่าย ดังนี้ มีนโยบายระบุที่ชัดเจนของภาครัฐ มีการสั่งการและประเมินผลจาก กระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานต้องมีการบูรณาการการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหลากหลายองค์กรเข้าไว้ด้วยกัน ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้การให้บริการนี้ มีประสิทธิภาพและได้ผลสำเร็จสูงสุด