งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
ศูนย์อนามัยที่ 3 ข้อเสนอ

2 สมาชิก ผอ.เกษม เวชสุทธานนท์ ชนิกา โรจน์สกุลพานิช สมสุข โสภาวนิตย์
ผอ.เกษม เวชสุทธานนท์ สมสุข โสภาวนิตย์ วิภา รุจิจนากุล ปรียนิตย์ ใหม่เจริญศรี ชนิกา โรจน์สกุลพานิช สมาชิก

3 กรอบแนวคิด พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เขตเศรษฐกิจพิเศษ
พื้นที่ชายขอบ/ แรงงานต่างด้าว เมืองท่องเที่ยว บริบทของพื้นที่ ทิศทางและนโยบายการพัฒนาประเทศ สถานการณ์ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์แนวโน้ม สภาพ ปัญหาของพื้นที่ กำหนดประเด็นการ ดำเนินงาน จัดทำข้อเสนอการดำเนินงาน ต่อศูนย์อนามัย

4 บริบทของพื้นที่

5 โครงสร้างประชากรกลางปีจำแนกตามสัดส่วนกลุ่มอายุและเพศ
เขต 3 ปี พ.ศ. 2555 ที่มา : กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย

6 วิสัยทัศน์ “แหล่งท่องเที่ยวระดับสากล ผลิตภัณฑ์เกษตรคุณภาพ ฐานอุตสาหกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน อยู่ร่วมกันอย่างสมดุลและยั่งยืน ประตูสู่เศรษฐกิจโลก”

7 วิสัยทัศน์ “ ศูนย์กลางการค้าการลงทุนแห่งอินโดจีน ฐานการผลิตอุตสาหกรรมก้าวหน้าระดับประเทศ แหล่งผลิตสินค้าเกษตรมาตรฐานสากล เส้นทางท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรม

8 สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
ที่มา : สำนักสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ

9 จังหวัดที่มีวิกฤต ปัญหามูลฝอยสะสม 20 อันดับแรกของประเทศไทย
จังหวัดที่มีวิกฤต ปัญหามูลฝอยสะสม 20 อันดับแรกของประเทศไทย กิโลกรัม/คน

10 จังหวัดที่มีวิกฤตปัญหา การจัดการขยะมูลฝอย 20 อันดับแรกของประเทศไทย
จังหวัดที่มีวิกฤตปัญหา การจัดการขยะมูลฝอย 20 อันดับแรกของประเทศไทย ร้อยละ

11 สถานการณ์การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
ที่มา: รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยปี 2556

12 ผลการประเมินดัชนีคุณภาพน้ำทะเลทั่วประเทศ ปี 2556
ที่มา: รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2556

13 ตัวอย่างผลการตรวจวัดสารอินทรีย์ระเหยง่าย VOCs
ที่มา: รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2556

14 การวิเคราะห์ปัญหาและกำหนดกลยุทธ์
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค

15 “เมืองที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (City of Good Quality of Life and Environment) ”   เป้าประสงค์ 1. ประชาชนได้รับบริการการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณภาพ 2. ประชาชนในพื้นที่ได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

16 4. การใช้มาตรการทางกฎหมาย
ข้อเสนอ 4. การใช้มาตรการทางกฎหมาย 1. การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และศักยภาพบุคคลากร 2. พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน 3. การจัดกลไกการดำเนินงานเพื่อบูรณาการทุกภาคส่วน

17 กลยุทธ์ 1 การพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และศักยภาพบุคลากร
มีการศึกษา วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี ด้านการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรของศูนย์อนามัย ให้มีความเชี่ยวชาญด้านการประเมินสถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมและการจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อม พัฒนาขีดความสามารถของภาคีเครือข่าย (สสจ. สสอ. อปท. ฯ)ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดการกับปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มี Excellent center ด้านการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

18 กลยุทธ์ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน
กลยุทธ์ 2 พัฒนาระบบเฝ้าระวัง สื่อสารเตือนภัย และตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านประชากร อุตสาหกรรม สารเคมี มลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ มีระบบและกลไกการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพและมลพิษสิ่งแวดล้อมโดยวิเคราะห์เพื่อกำหนดโซนมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ต้องเฝ้าระวัง และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีระบบและกลไกการจัดการในการป้องกัน ดูแล แก้ไขปัญหาสุขภาพและมลพิษสิ่งแวดล้อมโดยมีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและโรงพยาบาลในพื้นที่เป็นฝ่ายปฏิบัติการ และศูนย์อนามัยเป็นฝ่ายประสานงาน พัฒนาทีมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมด้วยการจัดตั้งเป็นคณะกรรมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ท้องถิ่น และภาคประชาสังคมเข้าร่วม มีการกำหนดแผนและมาตรการที่ชัดเจน มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน

19 กลยุทธ์ 3 การจัดกลไกการดำเนินงานเพื่อบูรณาการ ทุกภาคส่วน
กลยุทธ์ 3 การจัดกลไกการดำเนินงานเพื่อบูรณาการ ทุกภาคส่วน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและประชาชน พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังและการจัดการโดยการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถิ่น และชุมชน พัฒนากลไกโดยใช้หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่ายในการเฝ้าระวังและติดตามด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักของชุมชนและประชาชน

20 กลยุทธ์ 4 การใช้มาตรการทางกฎหมาย
ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกข้อกำหนดและบังคับใช้ตาม พรบ.สาธารณสุข พ.ศ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชน โดยส่งเสริมให้ประชาชนรู้สิทธิและหน้าที่ของตนเองด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมทั้งก่อนมีปัญหา ระหว่าง และจัดการเมื่อมีปัญหา

21 City of Good Quality of Life and Environment


ดาวน์โหลด ppt ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google