งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่ 4 กรกฎาคม 2558 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ

2 สืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ( กนพ.) โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ในที่ประชุม มีข้อสั่งการให้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์หารือร่วมกันกับหน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางร่วมกันในการ ขับเคลื่อนระบบสหกรณ์ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษเน้นให้เกิดศูนย์รับซื้อสินค้าทางการเกษตร ในพื้นที่ที่มีการลักลอบโดยทันที โดยกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องหารือร่วมในการจัดตั้ง ระบบสหกรณ์หมู่บ้านให้เข้มแข็ง รับซื้อโดย ประชาชนร่วมทุนกัน นำปรับปรุงคุณภาพส่งขาย ประเทศที่สาม ( นอกประเทศ )

3 รมว. เกษตรฯ ได้ให้นโยบายเกี่ยวกับสหกรณ์ไว้ เมื่อ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 มี 3 ประการที่จะสามารถทำได้ภายใน 1 ปี ได้แก่ การสร้างขีดความสามารถของสหกรณ์ในการ ขยายการนำเข้าและส่งออกผลิตผลทางการ เกษตรตามแนวชายแดน ข้อ 1 การสร้างขีดความสามารถของสหกรณ์ที่ ก้าวหน้าในการผลิต จำหน่ายพืชผล และการ แปรรูป ข้อ 2 การสร้างระบบการออมและการพึ่งพาระหว่าง สหกรณ์ด้วยกันเองให้มากขึ้น ข้อ 3

4

5 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทวาย สหภาพเมียน มาร์

6 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

7 กรมฯ ได้ดำเนินการให้สหกรณ์รับซื้อ ผลผลิตทางการเกษตรที่มีการลักลอบ ใน 2 เขต ได้แก่ (1) อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก (2) อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว สำหรับพื้นที่ที่เหลือ ได้แก่ (1) พื้นที่ชายแดนจังหวัดตราด (2) พื้นที่ชายแดนจังหวัดมุกดาหาร (3) อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ได้เร่งรัด ให้สหกรณ์ดำเนินการขึ้นทะเบียนผู้ นำเข้าและส่งออกกับกรมการค้า ต่างประเทศ

8 กรอบแนวคิด “ เขตเศรษฐกิจ พิเศษ ” ของประเทศไทย เพิ่มความสามารถการแข่งขัน + ลดความเหลื่อมล้ำ การพัฒนา + เสริมสร้างความมั่นคงSEZ

9 ขอบเขตพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ : ประกาศเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558 ชายแดน จ. มุกดาหาร 3 อรัญประเทศ จ. สระแก้ว 4 ชายแดน จ. ตราด 5 แม่สอด จ, ตาก 1 สะเดา จ. สงขลา2 ในส่วนของ 5 พื้นที่ชายแดน ได้รับการ พิจารณาเป็น เขตพัฒนา เศรษฐกิจ พิเศษใน ระยะแรก และ ต้องสามารถ ดำเนินการได้ อย่างเป็น รูปธรรม ภายใน ปี 2558

10 ขอบเขตพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะที่ 2 : ตามมติ กนพ. เมื่อ 16 มี. ค. 58 ชายแดน จ. หนองคาย 3 ชายแดน จ. นครพนม 4 ชายแดน จ. นราธิวาส 5 ชายแดน จ. กาญจนบุรี 2 ชายแดน จ. เชียงราย 1

11 องค์ประกอบในการตัดสินใจเลือก แนวทาง การบริหารจัดการ ฯ ปัจจัยการกำหนดแนวทางการ บริหารจัดการฯ การพัฒนาสหกรณ์เพื่อรองรับการ บริหารจัดการฯ

12 ประเมินศักยภาพภายใน ประเมินศักยภาพภายนอก สื่อสารเรื่องเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ ให้ทุกคนใน สหกรณ์ได้รับรู้ รับฟังข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ เสีย

13 เลือกในสิ่งที่มีความถนัดอยู่ แล้วก่อน คำนึงถึงความพร้อมของ ทรัพยากรที่มีอยู่ ประเมินโอกาสที่จะได้รับ หรือจะ เกิดขึ้นในอนาคต สมาชิกสหกรณ์ ชุมชน สังคม ได้ ประโยชน์อย่างไร

14 ตัดสินใจ เลือก / ออกแบบ ธุรกิจ ปรับปรุง ระเบียบ / ข้อบังคับ พัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากร พัฒนา / ปรับปรุง ปัจจัยพื้นฐาน จัดทำแผนธุรกิจ

15


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google