งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการติดตามประเมินผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อกลุ่มวัยทำงาน วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 โดย....นายแพทย์ดิเรก ขำแป้น ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

2 ความเชื่อมโยงการดำเนินงาน
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) 9 เป้าหมายเพื่อลดโรคไม่ติดต่อ (NCDs) ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10% (6.7 ลิตร/คน/ปี) ลดการบริโภคยาสูบ 30% (15.7%) ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25% (20%) ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% (20%) ลดการขาดกิจกรรมทางกาย 10% (8%) ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% (24%) ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่มขึ้น ยาและเทคโนโลยีจำเป็นครอบคลุม 80% แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) แผนการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ 5 ปี (พ.ศ – 2564) มติครม. 26 ก.ย. 60

3 ยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี
วิสัยทัศน์ (Vision) “ประชาชนสุขภาพดี ปลอดจากภาระโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้” เป้าหมาย ลดภาระการป่วย การตาย และความพิการที่ป้องกันได้ ด้วยความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายหลายภาคส่วน

4 6 1 4 3 6 5 2 ยุทธ์ศาสตร์ของแผนการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ 5 ปี
(พ.ศ ) พัฒนานโยบายสาธารณะและกฎหมายที่สนับสนุนการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการข้อมูล 1 4 พัฒนาระบบสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานอย่าง บูรณาการ การพัฒนาศักยภาพชุมชน/ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย 3 6 เร่งขับเคลื่อนทางสังคม สื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง 5 ปฏิรูปการจัดบริการเพื่อลดเสี่ยง และควบคุมโรคให้สอดคล้องกับสถานการณ์โรคและบริบทพื้นที่ 2

5 Road map แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (4 Phase)
วางรากฐาน Phase 1 ( ) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 ( ) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 ( ) สู่ความยั่งยืน Phase 3 ( ) 4 Excellence Strategies (15 แผนงาน 45 โครงการ 80 ตัวชี้วัด) 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 2. การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 3. การป้องกันและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1. มีการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและการส่งต่อ 4. การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริและพื้นที่เฉพาะ 5. อุตสาหกรรมทางการแพทย์ Service Excellence P&P Excellence People Excellence Governance Excellence 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ - โครงการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพสู่ความเป็นมืออาชีพ - โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุขแห่งความสุข -โครงการพัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ 1. พัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ 2. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 3. การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 4.การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ 5.การปรับโครงสร้างและการพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ ที่มา : กองตรวจราชการ, 15 ก.ย. 60

6 แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564)
“ประชาชนสุขภาพดี ปลอดจากภาระโรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้” ผู้ป่วย DM รายใหม่จาก Pre-DM ลดลง ผู้ป่วย HT รายใหม่จาก Pre-HT ลดลง ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการคัดกรอง CVD Risk ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี เพิ่มขึ้น ผู้ป่วย HT ควบคุมระดับความดันได้ดี เพิ่มขึ้น ลดเสี่ยง (กลุ่มปกติ) ลดป่วย (กลุ่มเสี่ยง) ลดภาระโรค และลดตายก่อนวัยอันควร (กลุ่มป่วย) เป้าหมาย 4.การเฝ้าระวัง และติดตามประเมินผล (Surveillance and M&E) 1.การนำขับเคลื่อนนโยบายและสร้างพันธมิตรความร่วมมือ (Policy & Advocacy) 3.เสริมสมรรถนะ ของระบบบริการสุขภาพ(Strengthen Health System) 2.ส่งเสริมสุขภาพ และลดความเสี่ยง (Promotion and Risk Reduction) P S มาตรการ : 2P2S

7 ตัวชี้วัดและเป้าหมายการลดโรค
สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ที่เกี่ยวข้องกับสำนักฯ ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 5 ปี 2560 2561 2562 2563 2564 Promotion, Prevention & Protection Excellence แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 1. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุ น้อยกว่า 15 ปี ≤ 5.0 ≤ 4.5 ≤ 4.0 ≤ 3.5 ≤ 3.0 2. อัตราการเสียชีวิตจากกการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 18 ต่อ ประชากรแสนคน ไม่เกิน 16 ต่อ ไม่เกิน 14 ต่อ ไม่เกิน 12 ต่อ ไม่เกิน 11 ต่อ 3. อัตราผู้ป่วย รายใหม่ - อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน - อัตรากลุ่มสงสัยป่วย HT ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน DMรายใหม่ ≤ร้อยละ 2.4 - DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.4 HBPM ≥ ร้อยละ 10 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.4 HBPM ≥ ร้อยละ 20 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.28 HBPM ≥ ร้อยละ 30 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.16 HBPM ≥ ร้อยละ 40 Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 1. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ DM ≥ 40% HT ≥ 50% DM ≥ 40% HT ≥ 50% 2. ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด CVD Risk ≥ 80% ≥ 82.5% ≥ 85% ≥ 87.5% ≥ 90% สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ที่เกี่ยวข้องกับ สำนักโรคไม่ติดต่อ

8 Thank you..


ดาวน์โหลด ppt แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google