งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ภูมิทัศน์ทั้งภายใน และภายนอก สุขาภิบาลอาหาร และสิ่งแวดล้อมใน ครัวเรือน พื้นที่สีเขียว พืชผักสวนครัวใน บ้าน การคัดแยกขยะ และทำปุ๋ยอินทรีย์ การมีส่วนร่วมของ ชุมชน

2 ผลการประเมินโครงการถนนสะอาดน่าบ้านน่ามองฯ
ครัวเรือนที่มีคะแนน 75/100 คะแนนขึ้นไป มี จำนวนร้อยละ 82.45 ร้อยละ ของครัวเรือน มีการปลูกผักปลอด สารพิษมากกว่า 10 ชนิด ร้อยละ 10 ครัวเรือนหรือคิดเป็นจำนวน 132 ครัวเรือน มีการปลูกผักปลอดสารพิษเป็นอาชีพเสริม เกิดรายได้วันละ บาทต่อครัวเรือน

3 ครัวเรือนให้ความร่วมมือและหันมาสนใจสุขภาพโดยปลูกผักปลอดสารพิษเกิน7ชนิดในครัวเรือนของตนเองเป็นจำนวน82.45%

4

5 กิจกรรมที่ต่อยอดในปัจจุบัน

6 ส่งเสริมให้นำเศษวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของใช้

7 เข้าร่วมเป็นเครือข่ายขับเคลื่อนองค์กรปลอดโฟม

8 เทศบาลตำบลเกาะคาประกาศตัวเป็นองค์กรปลอดโฟม

9 รณรงค์และประกาศนโยบาย ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร

10 รณรงค์ลด ละ เลิกใช้โฟมบรรจุอาหาร ในศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพฯ

11 ๕.๒ สำนักงานเทศบาลมีการจัดการตามแนวทาง “สำนักงานสีเขียว”
เทศบาลได้รับรางวัลพร้อมเกียรติบัตรรับรองสํานักงานสีเขียว (Green Office) ในระดับทอง (ดีเยี่ยม) เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมไทยและ วันอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้านแห่งชาติ ประจำปี 2557

12 โครงการ/กิจกรรมหนุนเสริมดำเนินงานสํานักงานสีเขียว
โครงการสร้างจิตสำนึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรไฟฟ้า ประจำปี 2558 โครงการสร้างจิตสำนึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรและพลังงาน เชื้อเพลิง เทศบาลตำบลเกาะ คา การบริหารจัดการขยะเหลือศูนย์ เทศบาลตำบลเกาะคา

13 ภาพกิจกรรมในการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (Green Office)

14 จัดอาหารว่างแบบ Green Meeting เพื่อทานลดปริมาณอาหาร ที่เหลือจากการรับประอาหารว่างระหว่างการประชุม โดยให้ผู้เข้าประชุมเลือกรับประทานอาหารตามความชอบในปริมาณที่ต้องการโดยไม่เหลือทิ้ง

15 กิจกรรมการให้ความรู้ประชาชนและพนักงานเทศบาล ในการประหยัดพลังงาน

16 ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ
การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมโดยเน้นให้ประชาชนตระหนักและเห็นคุณค่าของการรักษาสิ่งแวดล้อม ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ สร้างการมีส่วนร่วมและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น ทุนทางสังคม การมีส่วนร่วม 1 ครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ 2 อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและนักสืบสายน้ำ 3 กลุ่มเลี้ยงไส้เดือนเพื่อย่อยสลายขยะเปียกบ้านผึ้ง 4 การจัดการสิงแวดล้อมในโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม 5 โครงการถนนสะอาด บ้านน่าอยู่หน้าบ้านน่ามอง 6 ตู้เย็นพอเพียง ตู้เย็นในสวนบ้านหนองจอก 7 กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านผึ้ง 8 ร้านค้าศูนย์บาทบ้านแสนตอ , บ้านผึ้ง 9 ศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะปลายทาง เวทีประชาคม สร้างจิตสำนึก เวทีข่วงผญ๋า สร้างการมีส่วนร่วม สร้างกระบวนการรับรู้ สร้างกระบวนการทำงาน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ ระบบการสื่อสาร ระบบการบริหารจัดการ ขยายเครือข่ายการเรียนรู้ ระบบส่งเสริมการเรียนรู้ มีการจัดการความรู้ ระบบการเศรษฐกิจชุมชน การจัดการที่ยั่งยืน ระบบสุขภาพชุมชน ชุมชนรู้คุณค่าการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามบริบทของตนเอง มีศักยภาพในการจัดการตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้และเป็นแบบอย่างในการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนได้อย่างเหมาะสม

17

18 การคาดการณ์ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นในอนาคตของเกาะคา
(ตัน)

19 การบริหารจัดการที่ดีส่งผลให้ปริมาณขยะลดลงอย่างชัดเจน
จากการร่วมมือของประชาชนใน การคัดแยกขยะ และตระหนักว่าเป็นปัญหา สาธารณะร่วมกัน ส่งผลให้ปริมาณขยะลดลงอย่าง เห็นได้ชัด จาก 10 ตัน/วัน เหลือ 2.72 ตัน/วัน การบริหารจัดการที่ดีส่งผลให้ปริมาณขยะลดลงอย่างชัดเจน

20 ขอบคุณทุกท่านที่รับฟังการบรรยาย
จบการ นำเสนอ สวัสดี ครับ


ดาวน์โหลด ppt แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google