วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับของนักเรียน ชั้น ปวช.2 แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และการทดสอบซ้ำ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาการเรียนการสอน ในรายวิชา หลักการออกแบบกราฟิก แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก โดยใช้เกมโลโก้ อิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 นายธนาลักษณ์
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
ผู้วิจัย นางสาวมัตติกา ขวัญใจ วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
จำเริญ ติ่งต้อย วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติ ของนักเรียน ปวช.1 โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในงานอาชีพเรื่อง Present Simple.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้สื่อ Power Pointของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
วิธีการสอนแบบกระบวนการเสนอ ด้วยข้อมูลมีความแตกต่าง โดย นางสาวธนภรณ์ นาวินวิจิต วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (M-BAC)
วิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดย ใช้ชุดฝึกปฏิบัติในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้าของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง

กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
โดย นางสาวพัชรินทร์ แสงเงิน วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายหิรัญญพงษ์ โอวัฒนา โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
นางสุภาภรณ์ หงษ์ สุวรรณ วิทยาลัย อาชีวศึกษาดุสิต พณิชยการ นำเสนอ ประเภทที่ 1 วิจัยการเรียนการ สอน ( วิจัยชั้นเรียน ) นำเสนอ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ปัญหาการใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับของนักเรียน ชั้น ปวช.2 แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และการทดสอบซ้ำ ผู้วิจัย : นายทศพร ชัยนุรักษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )

ปัญหาการวิจัย การเรียนการสอนรายวิชาวงจรไฟฟ้า 2 ของนักเรียนระดับ ปวช.2 ในการลงปฏิบัตินักเรียนจะต้องใช้เครื่องมือวัดไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างถูกต้อง โดยเฉพาะออสซิลโลสโคป จากข้อมูลปัญหาการใช้ออสซิลโลสโคปของนักเรียน ปวช.2 ส่วนใหญ่จะใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้าไม่ถูกต้อง

ด้วยเหตุผลดังกล่าวนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะปรับวิธีการสอนเพื่อแก้ปัญหาการใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้า โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนและการทดสอบซ้ำ ของนักเรียน ปวช.2 ช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม(สยามเทค) ให้มีความเข้าใจอย่างถูกต้อง และเกิดทักษะในการออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้าอย่างถูกต้อง

วัตถุประสงค์ เพื่อ แก้ปัญหาการใช้ ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณ ไฟฟ้า ของนักเรียน ปวช .2 ช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม(สยามเทค)ให้มีทักษะการใช้งานอย่างถูกต้อง

ตารางที่ 1 การทดสอบครั้งที่ 1 จากตารางที่ 1 จากการวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วย สถิติt – test พบว่าค่า t คำนวณ 19.201 สูงกว่าค่า t ตาราง แสดงว่าคะแนนสอบหลังเรียน สูงกว่า คะแนนสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คะแนน X SD D SDd t Sig. ก่อนเรียน 3.5938 1.66287 2.18750 0.64446 19.201* 0.000 หลังเรียน 5.7813 1.38504

ตารางที่ 2 การทดสอบครั้งที่ 2 จากตารางที่ 2 จากการวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วย สถิติt – test พบว่าค่า t คำนวณ 8.753 สูงกว่าค่า t ตาราง แสดงว่าคะแนนสอบหลังเรียน สูงกว่า คะแนนสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คะแนน X SD D SDd t Sig. ก่อนเรียน 5.7500 1.88372 1.6875 1.09065 8.753* 0.000 หลังเรียน 7.4375 1.70270

ตารางที่ 3 การทดสอบครั้งที่ 3 จากตารางที่ 3 จากการวิเคราะห์ความแตกต่างของคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วย สถิติ t – test พบว่าค่า t คำนวณ 5.891 สูงกว่าค่า t ตาราง แสดงว่าคะแนนสอบหลังเรียน สูงกว่า คะแนนสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คะแนน X SD D SDd t Sig. ก่อนเรียน 7.4063 1.94869 1.15625 1.11034 5.891* 0.000 หลังเรียน 8.5625 1.54372

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การใช้ออสซิลโลสโคปวัดสัญญาณไฟฟ้า วิชาวงจรไฟฟ้า 2 ซึ่งใช้กับนักศึกษาระดับ ปวช.2 ช่างไฟฟ้ากำลัง จำนวน 32 คน สูงขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีการทดสอบซ้ำหลายครั้ง ซึ่งการวิจัยใช้วิธีการทดสอบซ้ำ จำนวน 3 ครั้ง เป็นระยะเวลาที่ห่างกัน 1 เดือน ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ คือ ระดับ 0.05