โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ชื่อผู้วิจัย นายสรรเพชญ สุขสวัสดิ์ สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่


ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.

นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์ วิลาวัณย์ ลีลารัตน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องวงกลม โดยใช้ โปรแกรม The Geometer’ s Sketchpad (GSP) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 ผู้วิจัย นางสาวอังสนา อุตมูล.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การนำเสนอผลงานวิจัยและนวัตกรรมสื่อการสอนทางอาชีวศึกษา ครั้งที่ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.) งานวิจัยการพัฒนาสื่อการสอน E-Learning วิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สภาวะโลกร้อน วิกฤตการณ์พลังงาน และพลังงานทดแทน โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อการสอน E-Learning ในรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สภาวะโลกร้อน วิกฤตการณ์พลังงาน และพลังงานทดแทน ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ที่ตั้งไว้ คือ 80/80 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบบรรยายประกอบการ ใช้สื่อการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกับ การเรียนการสอน บรรยายเพียงอย่างเดียว เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้สื่อการสอน E- Learning ในรายวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่ผู้รายงานสร้าง ขึ้น

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม วิธีการสอนประกอบการใช้สื่อการสอน E- Learning การเรียนการสอนโดยใช้หนังสือเพียงอย่างเดียว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้น ปวช.2 สาขาช่างอุตสาหกรรม ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาค ตะวันออก (อี.เทค.) จำนวน 9 ห้อง เฉลี่ยห้องละ 45 คน นักเรียนระดับชั้น ปวช.2 สาขา ช่างอุตสาหกรรม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 วิทยาลัย เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.) 2 ห้อง คือ E2/4 และ E2/5 เป็นจำนวน 88 คน

ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต e-learning ในรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาพลังงานและ สิ่งแวดล้อม เรื่อง สภาวะโลกร้อน วิกฤตการณ์พลังงาน และพลังงาน ทดแทน เป็นข้อสอบแบบปรนัย จำนวน 30 ข้อ 15 คะแนน แบบประเมินความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (IOC)

สรุปผลการวิจัย ผลการหาประสิทธิภาพสื่อ E-Learning ประสิทธิภาพใน กระบวนการเรียน (E1) มีค่าเท่ากับ 89.16 และมีค่าประสิทธิภาพ ของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 85.39 ผลการประเมินสื่อ E-Learning จากผู้ทรงคุณวุฒิในด้านความ ตรงเชิงสภาพ และความตรงเชิงเนื้อหา มีค่า IOC สูงกว่า 0.6 ในทุก ข้อ

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อมด้านการสอนของ นักเรียนที่เรียนแบบธรรมดาประกอบการใช้ E-Learning สูงกว่า นักเรียนที่เรียนแบบธรรมดาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ด้านความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างต่อสื่อการสอน E-Learning โดยภาพรวม นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ด้วยค่าเฉลี่ย 4.48 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.58

ผลกระทบที่เกิดขึ้น การเรียนการสอนประกอบการใช้สื่อ E-Learning ครูผู้สอน ต้องติดตามการใช้สื่อการสอน E-Learning ตลอด เพื่อให้ นักศึกษาใช้สื่อการสอนได้ด้วยตนเอง และเป็นการกระตุ้นให้ นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะและประโยชน์ของการวิจัย การนำบทเรียนสื่อการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต E- Learning มาพัฒนาใช้สอนบน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างประหยัดมาใช้อย่างเหมาะสม เพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุจุดมุ่งหมายอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต E- Learning เพื่อให้ได้บทเรียนที่มี ประสิทธิภาพ ต้องได้รับการพัฒนาพร้อมกันไปหลายๆ ด้าน การวิเคราะห์หลักสูตร การวางแผนและออกแบบบทเรียน การจัดการและการดำเนินการสร้างบทเรียน การประเมินผลบทเรียนที่สร้าง การปรับปรุงโปรแกรมและบทเรียน

ข้อเสนอแนะและประโยชน์ของการวิจัย บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต E- Learning ควรมีความ เหมาะสมกับระดับสติปัญญา ความสามารถ ความต้องการ ของผู้เรียน และต้องสามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนให้ เกิดความอยากเรียนรู้เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ของบทเรียน