ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

ผู้วิจัย อาจารย์เรวดี นาวินวิจิต
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
นายภาณุวัฒน์ วงศ์เทพเตียน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย : นายสุพัฒน์ กลัดสมบุญ
ผู้วิจัย : นางนันทวรรณ พิมพ์นพพันธุ์ โชติ สังกัด : วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชย การราชดำเนิน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อผู้วิจัย สิตานันท์ ธีรศาสตร์ศิลป์
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัย
โดย นางกรุณา อุประดิษฐ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การสร้างสรรค์งาน โฆษณาในรายวิชาการโฆษณา.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ในรายวิชา การบัญชีตั๋วเงินของ นักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยี พณิชยการเชียงใหม่
LOGO.  สำหรับผู้ที่เรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนั้น หลักการ เขียนโปรแกรมเป็นอีกรายวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนต้องมีความรู้และ ความเข้าใจ เพื่อให้ในการพัฒนาโปรแกรมและเพื่อนำไป.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ปีการศึกษา 2550 วิธีการวิจัยวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา พบว่า โดยรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจต่อคุณภาพ.
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

ชื่อผู้วิจัย ณัฐฌา แรกขึ้น สถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
นายเจตวัฒน์ สมเจริญเกียรติ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายมงคล ธัญฤชุพงศ์ ผู้วิจัย
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

LOGO การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนการ สอนในราย วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 (3201 – 2004) เรื่องการบันทึกบัญชีที่ไม่สมบูรณ์ ของนักศึกษาระดับ ชั้น ปวส.2 สาขาการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
โดย นางสาวราตรี สมความคิด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรี ย่าน.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา พิมพ์ไทย 1 ที่สอนโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พิมพ์สัมผัสของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเก็บเอกสาร ของผู้เรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. 206 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ ผู้วิจัย นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม.
วัตถุประสงค์การวิจัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่

วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการพูด และเขียนส่วนประกอบหลักและรองของจดหมายธุรกิจ ด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์ของนักเรียนระดับชั้นปวช.3/4 วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย จากการสอนวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ ระดับชั้นปวช.3/4 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ พบว่าผู้เรียนในห้องเรียนนี้แบ่งเป็นกลุ่มๆ ต่าง คนต่างเรียน ไม่มีปฏิสัมพันธ์กัน คือไม่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน กลุ่ม ผู้เรียนที่เรียนเก่งจะไม่สนใจกลุ่มผู้เรียนที่เรียนอ่อน ทำให้เกิดปัญหา ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้วิจัยซึ่งรับผิดชอบในฐานะ ผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษจึงคิดหาแนวทางแก้ไข ให้ผู้เรียนที่เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มมากขึ้นและมีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น จึง นำแนวคิดทฤษฎีการสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์ มาจัด กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการพูดและเขียน ส่วนประกอบหลักและรองของ จดหมายธุรกิจให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์

ผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ตารางที่ 1 ค่าร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์จากการวัดผลสัมฤทธิ์ การเรียน ผลการฝึกทักษะ จำนวนผู้เรียน ค่าร้อยละ ผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ 21 100 ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์

จากตารางที่ 1 ผลการหาค่าร้อยละของผู้ที่ผ่านเกณฑ์จากการ วัดผลสัมฤทธิ์การเรียน ของนักเรียนปวช.3/4 จำนวน 21 คน แสดงให้เห็นว่า มีผู้เรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 จำนวนทั้งหมด 21 คน หรือร้อยละ 100 ผลพบว่าผู้เรียนมีการพัฒนาการเรียน ทุกคน

ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยจากการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เทคนิคจิ๊กซอว์ ข้อ รายการ ระดับความพึงพอใจ x 1 เนื้อหาเรื่องส่วนประกอบหลักและรองของจดหมายธุรกิจ 4.14 2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเหมาะสม 4.81 3 สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนเหมาะสม 3.76 รวม 4.24

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจใน การเรียนรู้ด้านเนื้อหา ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 ด้านกิจกรรม การเรียนการสอน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.81 ด้านสื่ออุปกรณ์ การเรียนการสอน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.76 ในภาพรวมได้ คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 แสดงว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก

สรุปผลการการวิจัย จากการที่ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 21 คน คิด เป็นร้อยละ 100 มีผลมาจากการที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน สรุปความคิดรวบยอดของเนื้อหาเกี่ยวกับวิธีการเขียนส่วนประกอบ หลักและรองด้วยตนเอง ทำให้เกิดองค์ความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาอย่างถ่อง แท้ จึงสามารถทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด ผลการศึกษาเจตคติ พบว่าผู้เรียนเห็นว่า กิจกรรมการเรียนการสอนมีความ เหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.81 ความพึงพอใจในภาพรวมได้คะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 4.24 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียน การสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์อยู่ในระดับมาก เพราะผู้เรียนได้รับ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาอย่างแท้จริง จึงทำให้ผลการเรียนดีขึ้น

ประโยชน์ได้รับจากการวิจัยครั้งนี้ 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 2. ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3. ครูผู้สอนได้นวัตกรรมการเรียนการสอนประเภทเทคนิควิธี โดยการจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์