บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
Advertisements

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
ระบบการส่งต่อและเชื่อมโยง ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ข้อพิจารณาว่าน่าจะทำเป็น ข้อเสนองานเอดส์ 1) ข้อมูลสามารถแปลงเป็นประเด็นเชิงกลยุทธ (Strategic Information) ความสำคัญของปัญหา และความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกี่ยวกับเอดส์
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติว่า ด้วยการกำหนดบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลเป้าหมายเป็นผู้รับบริการ.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ศูนย์พึ่งได้ เด็กที่ได้รับ ผลกระทบจาก เอดส์ เด็กเปราะบาง เด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท มูลนิธิพะเยา เครือข่าย เพื่อนๆผู้มีเชื้อ เครือข่ายองค์กรศาสนา มูลนิธิ ข่ายเอ็มพาว์เวอร์ เครือข่ายเยาวชน มูลนิธิ เอ็มพลัส เครือข่ายชาติพันธุ์ และมูลนิธิศุภนิมิจ

บทเรียนเรื่องความคุ้มทุนในการใช้ทรัพยากรในการ ดำเนินงาน “ ทำเยอะแต่ได้ผลน้อยลง ทั้งปริมาณ หรือ คุณภาพ ” บทเรียนเรื่องการทำงานร่วมระหว่างภาคี ภาครัฐ “ ทุก ด้านทุกระดับ ” ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน “CSR” ที่ เกื้อกูลกัน บทเรียนเรื่องการทำงานร่วม กับ ท้องถิ่น “ การเปลี่ยนวิธี คิดเกี่ยวกับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น เช่น กองทุนหลักประกันสุขภาพ รพ. สต. อปท. ผู้นำชุมชน ” บทเรียนเรื่อง การสร้างแรงจูงใจที่นำไปสู่ การเข้าถึง ระบบบริการตรวจ VCT,HCT “ แรงจูงใจภายใน และ แรงจูงใจภายนอก ” ซึ่งมีตัวแทนกลุ่มต่างๆพาเพื่อนๆเข้าสู่ ระบบบริการ ข้อท้าทายเรื่องการรองรับผลกระทบหลังจากการรับ บริการการตรวจเลือด บทเรียนเรื่อง การดำเนินงานการลดการตีตรา และ เลือกปฏิบัติ “ การลดการตีตราจากภายใน และภายนอก ” บทเรียนเรื่อง ความยั่งยืนของการดำเนินงานด้านเอช ไอวีเอดส์ “ คนทำงาน, กลไก, ทรัพยากร ” บทเรียนเรื่อง การชี้เฉพาะเจาะจงตัวกลุ่มเป้าหมายใน การดำเนินงาน อาจไม่ได้แก้ไขปัญหาได้อย่างรอบด้าน “ การมองว่าปัญหาเฉพาะกลุ่ม ”

แนวทางก้าวต่อในอนาตคจาก บทเรียนบทเรียน และข้อท้าทาย ในบทบาทของ กพอ. มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท มูลนิธิพะเยา เครือข่าย เพื่อนๆผู้มีเชื้อ เครือข่ายองค์กรศาสนา มูลนิธิ ข่ายเอ็มพาว์เวอร์ เครือข่ายเยาวชน มูลนิธิ เอ็มพลัส เครือข่ายชาติพันธุ์ และมูลนิธิศุภนิมิจ

ในประเด็นความยั่งยืนในการดำเนินงานด้าน เอชไอวี / เอดส์ “ คนทำงาน, กลไก, ทรัพยากร ” การติดตั้งโครงการ หรือแนวทางการดำเนินงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล จากการดำเนินงานของภาคประชา สังคม ในระบบปกติของ ชุมชน รัฐ และเอกชน โดยเฉพาะประเด็นคุณภาพชีวิตตามวิถีปกติ ที่ ให้ความสำคัญ การพัฒนาความเชี่ยวชาญ ด้านประเด็นงาน ด้านการพัฒนากลไกการทำงาน การเข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งของกลไกการการทำงาน ทั้งทางตรง หรือทางอ้อม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทำงาน มีสุข แล้วปันสุข

ทิศทางการดำเนินงาน จากกลุ่มประชากรต่างๆ ลุกขึ้นมาดำเนินงาน โดยไม่ได้มองเพียงการตรวจเลือกหาเอชไอวี เพียงอย่างเดียว แต่มองถึงสุขภาพ สิทธิ การ ดำเนินชีวิตอย่างภาคภูมิใจในชุมชน และสังคม คุณภาพชิวตที่ดี “ ขยับงานเอดส์เข้าสู่งาน ส่งเสริมคุณภาพคุณภาพชีวิต ” ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวไม่ได้ทำเนินการ