งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ด้านผู้สูงอายุ สถานการณ์ผู้สูงอายุ - จำนวน 8,970,740 คน ร้อยละ ของประชากร ทั้งประเทศ (ทะเบียนราษฎร์ ปี 2556, กรมการปกครอง) - ปี 2570 ประเทศไทยเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุ จำนวน 16,150,000 คน คิดเป็น 1 ใน 4 ของประชากรไทยและมีผู้สูงอายุมากกว่า 80 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้น (ประมาณการประชากรของประเทศไทย พ.ศ , สศช.) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 - แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ กลไก : คณะกรรมการ ผู้สูงอายุแห่งชาติ (กผส.) นายกรัฐมนตรี : ประธานกรรมการ รมว.พม. : รอง ประธานกรรมการ “สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ” จุดเน้นการดำเนินงาน การเตรียมความพร้อมประชากรเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม ส่งเสริมการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ พัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง

2 แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ
การเตรียมความพร้อมทุกช่วงวัย - การพัฒนาและเผยแพร่หลักสูตรการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุให้แก่หน่วยงานทุกภาคส่วน - การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้แก่กลุ่มวัยต่างๆ เด็ก และเยาวชน - ปลูกฝังความกตัญญู - วินัยเชิงบวกในด้านการออม - การดูแลสุขภาพ การเตรียมความพร้อมประชากรเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีคุณภาพ วัยทำงาน - การวางแผนทางการเงินเพื่อสร้างหลักประกันในวัยสูงอายุ - การดูแลสุขภาพ - การมีบ้านและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย วัยสูงอายุ - การเข้าถึงสิทธิ บริการ และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และการเตรียมตัวรับความตาย

3 แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ
ส่งเสริมผู้สูงอายุที่มีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม คลังปัญญาผู้สูงอายุ 1. ส่งเสริมการนำประสบการณ์ความรู้ของผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมด้วยภูมิปัญญา 2. ส่งเสริมการทำงานหรือสร้างอาชีพ สร้างรายได้เสริมให้แก่ผู้สูงอายุ กองทุนผู้สูงอายุ 1. สนับสนุนการกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ รายกลุ่มและรายบุคคล 2. สนับสนุนกิจกรรมขององค์กรที่ดำเนินงานเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสนับสนุนผู้สูงอายุให้มีความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง

4 แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ
กิจกรรมภายในศูนย์ 1. ส่งเสริมสุขภาพอนามัย 2. สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ 3. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมด้านอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้ 4. ส่งเสริมการผลิต การจำหน่วยผลิตภัณฑ์และการรับงานไปทำที่บ้าน 5. การถ่ายทอดวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. กิจกรรมนันทนาการ ประเพณี 7. จัดให้มีระบบฐานข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ กลไกบริหารจัดการศูนย์ - คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ (ประธานเป็นผู้แทนจากชมรมผู้สูงอายุ) - อปท.เป็นที่ปรึกษาและสนับสนุนการดำเนินงาน - กลุ่ม องค์กร - อาสาสมัคร - ภาคีเครือข่าย กิจกรรมภายนอกศูนย์ 1. อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง 2. ประสาน เชื่อมโยงการให้บริการของหน่วยงานต่างๆ ตามความต้องการของผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง

5 แนวทางการดำเนินงานที่สำคัญ ด้านผู้สูงอายุ
พัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง การขยายผลระบบงานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (บ้านกลาง) เสริมสร้างความรู้ด้านการดูแลผู้สูงอายุให้แก่บุคลากรและอาสาสมัครเพื่อสามารถให้บริการแก่ผู้สูงอายุในรูปแบบที่เหมาะสม การขับเคลื่อนงานโครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม การป้องกันช่วยเหลือผู้สูงอายุในภาวะภัยพิบัติ การสร้างภูมิคุ้มกันภัยทางสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ การสร้างความสุขผู้สูงวัย สังคมไทยอยู่เย็นเป็นสุข การจัดทำแผนการดูแลช่วยเหลือคุ้มครองผู้สูงอายุเฉพาะราย


ดาวน์โหลด ppt “สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google