บทเรียนที่งอกงามในการทำงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ของพี่น้อง ภาคีกพอ. ภาคเหนือ 25 ปี เบญจเพศ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท มูลนิธิพะเยา เครือข่าย เพื่อนๆผู้มีเชื้อ เครือข่ายองค์กรศาสนา มูลนิธิ ข่ายเอ็มพาว์เวอร์ เครือข่ายเยาวชน มูลนิธิ เอ็มพลัส เครือข่ายชาติพันธุ์ และมูลนิธิศุภนิมิจ
บทเรียนเรื่องความคุ้มทุนในการใช้ทรัพยากรในการ ดำเนินงาน “ ทำเยอะแต่ได้ผลน้อยลง ทั้งปริมาณ หรือ คุณภาพ ” บทเรียนเรื่องการทำงานร่วมระหว่างภาคี ภาครัฐ “ ทุก ด้านทุกระดับ ” ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน “CSR” ที่ เกื้อกูลกัน บทเรียนเรื่องการทำงานร่วม กับ ท้องถิ่น “ การเปลี่ยนวิธี คิดเกี่ยวกับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น เช่น กองทุนหลักประกันสุขภาพ รพ. สต. อปท. ผู้นำชุมชน ” บทเรียนเรื่อง การสร้างแรงจูงใจที่นำไปสู่ การเข้าถึง ระบบบริการตรวจ VCT,HCT “ แรงจูงใจภายใน และ แรงจูงใจภายนอก ” ซึ่งมีตัวแทนกลุ่มต่างๆพาเพื่อนๆเข้าสู่ ระบบบริการ ข้อท้าทายเรื่องการรองรับผลกระทบหลังจากการรับ บริการการตรวจเลือด บทเรียนเรื่อง การดำเนินงานการลดการตีตรา และ เลือกปฏิบัติ “ การลดการตีตราจากภายใน และภายนอก ” บทเรียนเรื่อง ความยั่งยืนของการดำเนินงานด้านเอช ไอวีเอดส์ “ คนทำงาน, กลไก, ทรัพยากร ” บทเรียนเรื่อง การชี้เฉพาะเจาะจงตัวกลุ่มเป้าหมายใน การดำเนินงาน อาจไม่ได้แก้ไขปัญหาได้อย่างรอบด้าน “ การมองว่าปัญหาเฉพาะกลุ่ม ”
แนวทางก้าวต่อในอนาตคจาก บทเรียนบทเรียน และข้อท้าทาย ในบทบาทของ กพอ. มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พันธกิจเอดส์แห่งประเทศ ไทย มูลนิธิเอดส์เน็ท มูลนิธิพะเยา เครือข่าย เพื่อนๆผู้มีเชื้อ เครือข่ายองค์กรศาสนา มูลนิธิ ข่ายเอ็มพาว์เวอร์ เครือข่ายเยาวชน มูลนิธิ เอ็มพลัส เครือข่ายชาติพันธุ์ และมูลนิธิศุภนิมิจ
ในประเด็นความยั่งยืนในการดำเนินงานด้าน เอชไอวี / เอดส์ “ คนทำงาน, กลไก, ทรัพยากร ” การติดตั้งโครงการ หรือแนวทางการดำเนินงาน ด้านเอชไอวี / เอดส์ ที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล จากการดำเนินงานของภาคประชา สังคม ในระบบปกติของ ชุมชน รัฐ และเอกชน โดยเฉพาะประเด็นคุณภาพชีวิตตามวิถีปกติ ที่ ให้ความสำคัญ การพัฒนาความเชี่ยวชาญ ด้านประเด็นงาน ด้านการพัฒนากลไกการทำงาน การเข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งของกลไกการการทำงาน ทั้งทางตรง หรือทางอ้อม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทำงาน มีสุข แล้วปันสุข
ทิศทางการดำเนินงาน จากกลุ่มประชากรต่างๆ ลุกขึ้นมาดำเนินงาน โดยไม่ได้มองเพียงการตรวจเลือกหาเอชไอวี เพียงอย่างเดียว แต่มองถึงสุขภาพ สิทธิ การ ดำเนินชีวิตอย่างภาคภูมิใจในชุมชน และสังคม คุณภาพชิวตที่ดี “ ขยับงานเอดส์เข้าสู่งาน ส่งเสริมคุณภาพคุณภาพชีวิต ” ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวไม่ได้ทำเนินการ