ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
Advertisements

นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นายอธิชาติ ไชยาแจ่ม
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.

ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผู้วิจัย นางประชุมพร รุ่นประพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
นางสาวอรุณรุ่ง สุวรรณโชติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่องงานวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์เพื่อเขียน โปรแกรม Microsoft Visual Basic ชื่อเรื่อง + ชื่อผู้วิจัย + สังกัดวิทยาลัย ผู้วิจัย นางกิ่งใจ แผ่นทอง ครูผู้สอนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ จ.ลำพูน

ปัญหาการวิจัย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์ เพื่อเขียนโปรแกรม Microsoft Visual Basic ได้จัดทำขึ้นมาเพื่อสร้างเป็น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer Assisted Instruction) พัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ เนื่องจากนักศึกษาบางคนมีปัญหา จำความหมายของคำศัพท์ ไวยากรณ์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมไม่ได้ ทำให้นักศึกษาไม่สามารถเขียนโปรแกรมให้ทำงานตามคำสั่งได้ โดยจะนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ปัญหาการวิจัย

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์ เพื่อเขียนโปรแกรม Microsoft Visual Basic สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ 2. เพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการส่งเสริมการรู้คำศัพท์ เพื่อเขียนโปรแกรมMicrosoft Visual Basicสำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ วัตถุประสงค์

ผังสรุปสำคัญ โครงสร้างแผนผังการสอนของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์ เพื่อเขียนโปรแกรมMicrosoft Visual Basic แบบทดสอบหลังเรียน เริ่มต้นโปรแกรม ชื่อบทเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน บทเรียน จบการใช้งาน ปิดโปรแกรม

ผังสรุปสำคัญ การออกแบบบทเรียน การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอนดังนี้ การสร้างบทเรียน การประเมินบทเรียน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลจากคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน เมื่อนำมาทดสอบหาค่าที (t- test) ได้ค่า t = 69.428 ซึ่งมากกว่า ค่า t จากที่กำหนดในตาราง ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t ตาราง = 2.0322) แสดงให้เห็นว่า คะแนนหลังเรียนมีค่าสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กล่าวคือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์ เพื่อเขียนโปรแกรม Microsoft Visual Basic มีประสิทธิภาพด้านความก้าวหน้าทางการเรียนจริง เพราะสามารถพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนสูงขึ้นได้จริง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.37 และประเด็นส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับมาก มีประเด็นเรื่อง นักศึกษาชอบการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนชุดนี้ มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับแรก 4.63 รองลงมาคือ ควรมีการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชาอื่น ๆ ค่าเฉลี่ย 4.60 และทำให้นักเรียนสนุกกับการเรียน ไม่น่าเบื่อ ค่าเฉลี่ย 4.49 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์ เพื่อเขียนโปรแกรม Microsoft Visual Basic สำหรับนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ เมื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลจากการเรียน พบว่า ผลที่ได้เท่ากับ 0.7335 แสดงให้เห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การส่งเสริมการรู้คำศัพท์ เพื่อเขียนโปรแกรม Microsoft Visual Basic สามารถพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นได้ร้อยละ 72.85 โดยภาพรวมนักเรียนเห็นด้วยในระดับมาก ช่วยเพิ่มความสนใจในการเรียนมากขึ้น มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ทำให้นักเรียนสนุกกับการเรียน ไม่รู้สึกเบื่อหน่าย และนักเรียนชอบการเรียน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สรุปผลการวิจัย

ผลกระทบหรือผลประโยชน์ ช่วยเพิ่มความสนใจในการเรียนมากขึ้น ทำให้นักเรียนสนุกกับการเรียน ไม่รู้สึก เบื่อหน่าย และนักเรียนชอบการเรียน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลกระทบหรือประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย