เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจ วิจัยการเรียนการสอน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (Educational achievement using TKT. System during bending of the Diploma.) นางจงดี พฤกษารักษ์ กลุ่มงานวิจัย กลุ่มการเรียนการสอน วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต  

ปัญหาการวิจัย (RESEARCH Problems) ผู้วิจัยเป็นครูผู้สอนในห้องเรียนขนาดใหญ่ที่มีผู้เรียนจำนวนมากจึงเป็นการยากที่จะให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ให้ทันกันโดยเฉพาะ เรื่องระบบจำนวน โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ในการเรียน เนื่องจากการทำความเข้าใจได้ยากและต้องอาศัยการจินตนาการสูงพร้อมทั้งสูตรต่างๆ รวมทั้งผู้วิจัยคิดว่าการนำแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวน เป็นสื่อการสอนจะทำให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ตามความสามารถของผู้เรียนโดยไม่ต้องรอหรือเร่งให้ทันเพื่อนและผู้เรียนไม่เข้าใจในส่วนใดของบทเรียนก็สามารถกลับไปเรียนซ้ำได้

คำถามเพื่อการวิจัย 1.การเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวน ทำให้ผู้เรียน มีสภาพพัฒนาอย่างไร 2. การเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนช่วยลดปัญหา การเรียนการสอนที่ขาดแคลนผู้สอนมีอิทธิพลมากน้อยเพียงใด

วัตถุประสงค์ของการวิจัย Research Objectives เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับชั้นประการศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)ก่อนการใช้และหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ “เรื่อง ระบบจำนวน”

กรอบแนวคิดในการวิจัย Framework for Research ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

สมมติฐานการวิจัย Research Hypotheses ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวน สูงกว่าก่อนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวน ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ของนักศีกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ตภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 6 ห้อง นักเรียน 288 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)ที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์และเรื่องระบบจำนวน จำนวน 35 คนซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากนักเรียนที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์

เครื่องมือในการวิจัย Research tool แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักศึกษาระดประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทางการเรียนเรื่องระบบจำนวนในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำนวน 20 ข้อ แบบบันทึกคะแนนก่อนการทดลองใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์และหลังการทดลองใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หลังเรียนด้วยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบจำนวน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษางานวิจัย การเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ในเรื่องระบบจำนวนให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ2542) ผู้เรียนสามารถเรียนตามวิชาการเรียนรู้โดยไม่ต้องยื้อหรือเร่งให้ไปพร้อม ๆ กันกับเพื่อนในห้องเรียน ผู้เรียนสามารถเรียนโดยไม่ต้องมีครูสามารถทบทวนบทเรียนแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ได้เองตลอดเวลา แก้ปัญหาและช่วยลดปัญหาการเรียนการสอนที่ขาดแคลนผู้สอน