ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย การศึกษาการพัฒนาชุดการสอนเรื่อง ความเข้มข้นสารละลายสำหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาชุดการสอน เรื่อง สารละลาย สำหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปวช. 1 เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการสอน เรื่องสารละลาย สำหรับระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปวช. 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
ชุดกิจกรรมการสอน เรื่องสารละลาย กรอบแนวคิด ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารละลาย ตัวแปรต้น ชุดกิจกรรมการสอน เรื่องสารละลาย
ขอบเขตการวิจัย ประชากร นักเรียนปวช. 1 ห้อง 1-3 จำนวน 148 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนปวช. 1 ห้อง 1-3 จำนวน 148 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนปวช. 1 ห้อง 2 จำนวน 53 คน
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ความหมายของชุดการสอน - ประเภทชุดการสอน องค์ประกอบของชุดการสอน
เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ชุดการสอน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การรวบรวมข้อมูล นำชุดการสอนไปดำเนินการวิจัยกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 53 คน ดั้งนี้ 1.1 การทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลาย 1.2 นำชุดการสอนให้นักเรียนทำการศึกษาด้วยตนเอง พร้อมทั้งทำกิจกรรมทั้ง 2 ตอนภายในเวลา 2 ชั่วโมง 1.3 ทดสอบหลังเรียน เมื่อนักเรียนทำการศึกษาชุดการสอนเรียบร้อยแล้ว โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลาย
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ตารางผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการสอน จำนวน กลุ่มตัวอย่าง (N) คะแนนระหว่างใช้ ชุดการสอน คะแนนหลังใช้ ประสิทธิภาพ คะแนนเต็ม (A) คะแนนรวม ทุกคน (x1) (B) (x2) ระหว่างใช้ ชุดการสอน (E1) หลังใช้ (E2) 53 30 1,213 25 1,168 82.88 88.15 จากตารางนี้ พบว่า ประสิทธิภาพของชุดการสอน ในระหว่างใช้ชุดการสอนกับ ประสิทธิภาพของชุดการสอนหลังใช้ชุดการสอนของกลุ่มตัวอย่าง (E1/E2 = 82.88/88.15) มีค่า สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (E1/E2 = 80/80) แสดงว่าชุดการสอนนี้มีประสิทธิภาพ
ตารางผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ชุดการสอน การทดสอบ N S.D. t ก่อนใช้ชุดการสอน 53 7.60 2.19 หลังใช้ชุดการสอน 22.04 1.57 35.84 จากตาราง 3 พบว่า ก่อนใช้ชุดการสอนและหลังใช้ชุดการสอน เรื่อง สารละลาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดการสอนสูงกว่าก่อนใช้ชุดการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
สรุปผลการวิจัย ผลประสิทธิภาพของชุดการสอนเรื่อง สารละลาย ของระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปวช 1 การ มีค่า 82.88/88.15 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสารละลายของระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปวช 1 หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อาจเป็นเพราะว่า เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ด้วยชุดการสอน นักเรียนเกิด การเรียนรู้ที่ดี มีความเข้าใจในสาระเนื้อหา ได้ฝึกปฏิบัติทำกิจกรรมมากขึ้น
ขอบคุณค่ะ