นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
Advertisements

นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
วิจัย เรื่อง การพัฒนาการเรียนรู้เรื่อง เงินเฟ้อ-เงินฝืด วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ของผู้เรียน.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
โชติพัชร บุญทน ผู้วิจัย
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การอ่านมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เป็นเครื่องมือช่วยให้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ตลอดชีวิต ในขณะเดียวกันการศึกษาของไทยมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียน การศึกษา และการใช้ชีวิตในสังคม ดังนั้นทักษะการอ่านจึงเป็นทักษะสำคัญที่ควรมีการเร่งพัฒนาโดยเฉพาะการอ่านคิดวิเคราะห์เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะด้านอื่น ๆ ต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การอ่านวิเคราะห์เป็นทักษะการอ่านในระดับที่สูงขึ้นกว่าการอ่านทั่วๆไป กล่าวคือ มิใช่เป็นเพียงการอ่านเพื่อความรู้และความเพลิดเพลินเท่านั้น แต่ยังต้องมีการวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนได้เขียนในด้านต่างๆด้วย

จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1และ2 แก่นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 พบว่านักศึกษาขาดการคิดวิเคราะห์จากทักษะการอ่าน กล่าวคือนักศึกษาอ่านแล้วไม่สามารถคิดวิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้ อาทิเช่น ข่าว บทความ เรื่องสั้น และเนื้อหาจากหนังสือเรียน จากสภาพปัญหาที่ผู้สอนพบจึงสนใจที่จะพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ โดยใช้การจัดกิจกรรมแบบเทคนิค KWL- Plus เพื่อให้นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์จากเรื่องที่อ่านและสามารถนำไปประยุกต์หรือปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิค KWL- Plus เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่           

สรุปผลการวิจัย ผลการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิค KWL- Plus เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น   ระหว่างเรียน ก่อนเรียน (20) เรื่องสั้นที่ 1 (10) เรื่องสั้นที่ 2 (10) เรื่องสั้นที่ 3 (10) เรื่องสั้นที่ 4 (10) เรื่องสั้นที่ 5 (10) รวม (50) หลังเรียน (20) X 11.15 7.57 8 8.27 8.45 8.63 40.93 16.21 S.D. 1.39 0.56 0.35 0.57 0.50 0.48 1.29 0.78 ร้อยละ 55.75 75.75 80 82.72 84.54 86.36 81.87 81.06

สรุปผลการวิจัย จากตาราง พบว่า คะแนนจากการทำแบบทดสอบระหว่างเรียนของนักศึกษาจากการจัดกิจกรรมการการพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus มีค่าเฉลี่ย 40.93 คิดเป็นร้อยละ 81.87 แสดงว่าค่าประสิทธิภาพด้านกระบวนการ (E1) เท่ากับ 81.87 และคะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียน (E2) มีค่าเฉลี่ย 16.21 คิดเป็นร้อยละ 81.06

สรุปผลการวิจัย แสดงประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิค KWL- Plus เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น ประสิทธิภาพ คะแนน คะแนนเต็ม X S.D. ร้อยละ ประสิทธิภาพด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E1) 50 40.93 1.29 81.87 ประสิทธิภาพด้านผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E2) 20 16.21 0.78 81.06 ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E1/ E2) เท่ากับ 81.87/81.06

สรุปผลการวิจัย จากตาราง 2 พบว่า ประสิทธิภาพด้านการจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus (E1) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 40.93 คิดเป็นร้อยละ 81.87 และประสิทธิภาพด้านผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E2) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.21 คิดเป็นร้อยละ 81.06 ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์เรื่องสั้น โดยใช้เทคนิค KWL- Plus สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ (E1/ E2) เท่ากับ 81.87/81.06 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้