การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
การเขียนบทความ.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
งานวิจัย เรื่อง ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มี รูปวรรณยุกต์กำกับ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
เอกสารแนบท้าย 3 CONCEPT PAPER เรื่อง ชื่อนิสิต สาขา/แขนง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเหตุ นำเสนอ 10 นาทีให้ใช้ไม่เกิน 10 สไลด์เท่านั้น.
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
แนวคิดในการทำวิจัย.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
การเขียนรายงาน.
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การเลือกหัวข้อโครงงาน.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้ ถ้าหากไม่มีการนิยามคำศัพท์อาจจะทำให้การสื่อความหมายคลาดเคลื่อนทั้งในส่วนของผู้อ่านและตัวนักวิจัยเอง

การเลือกคำศัพท์ เลือกคำศัพท์ที่มีหลายความหมาย เลือกคำศัพท์ที่คาดว่าผู้อ่านที่อยู่ในสาขาอื่นๆ ไม่เข้าใจ หรือไม่คุ้นเคย โดยทั่วไปมักจะเป็นศัพท์เฉพาะ คำศัพท์ใหม่ๆ ที่คนทั่วไปไม่เข้าใจ

ที่มาของคำศัพท์ คำศัพท์ที่จะนำมารวบรวมและให้คำนิยามไว้ในส่วนนิยามคำศัพท์ ได้มาจากทุกส่วนของรายงานตั้งแต่ชื่อเรื่อง ปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย สมมุติฐานและปัญหาการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม และวิธีวิจัยแต่ละขั้นตอน

หลักการเขียนคำนิยามศัพท์ นิยามคำศัพท์เป็นการนิยามโดยทั่วๆ (Abstract definition) เหมือนคำศัพท์ปกติ และการนิยามคำศัพท์เฉพาะที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้น (Operational definition)ซึ่งบางคำศัพท์จะต้องนิยามเฉพาะและอธิบายรายละเอียดมากกว่าแบบแรกและสอดคล้องกับขอบเขตของเรื่องที่วิจัย

การอ้างอิงหรือให้แหล่งที่มีของคำนิยามมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการนิยามทั่วไป เพื่อให้การนิยามมีความเชื่อถือมากขึ้น ทั้งจากพจนานุกรม สารานุกรม และแหล่งอื่นๆ การนิยามคำศัพท์ควรมีการแยกเป็นส่วนเฉพาะหรือหัวข้อหนึ่งต่างหาก เขียนแยกเป็นย่อหน้าหรือให้หมายเลขกำกับในแต่ละคำ แต่การให้คำนิยามไม่ควรมากเกิน 2 หน้า

Impact of Information Technology on the Provision and Promotion of University Library Services in Developing Countries: A Comparative Study of University Libraries in Kenya and Karnataka India

ภาพลักษณ์ของครูบรรณารักษ์ตามทัศนะของนักเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม ปีการศึกษา 2540

คำนิยามศัพท์เฉพาะ 1. ภาพลักษณ์ (Image) หมายถึง ภาพที่เกิดขึ้นตามความรู้สึกนึกคิดของนักเรียน โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดมหาสารคาม โดยเป็นภาพลักษณ์ของครูบรรณารักษ์ด้านความรู้และบุคลิกภาพ ที่เกิดจากการรู้จัก การที่มีประสบการณ์ด้วยการได้ยิน ได้ฟัง ได้อ่านหรืออื่นๆ ทั้งนี้ต้องมีระยะเวลาช่วงหนึ่งที่จะสร้างเป็นภาพลักษณ์ทั้งในเชิงบวกหรือเชิงลบก็ได้

2. ครูบรรณารักษ์ หมายถึง ครู อาจารย์ ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าสถานศึกษาให้รับผิดชอบในการบริหารและดำเนินงานห้องสมุด โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม ปีการศึกษา 2540 โดยจำแนกเป็น 2 กลุ่มคือ 2.1 ครูที่มีวุฒิทางบรรณารักษศาสตร์ คือ ครูบรรณารักษ์ที่มีวุฒิการศึกษาในสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ หรือสาขาวิชาเกี่ยวกับบรรณารักษ์ห้องสมุด

2.2 ครูที่ไม่มีวุฒิทางบรรณารักษศาสตร์ คือ ครูบรรณารักษ์ที่ไม่มีวุฒิการศึกษาเกี่ยวกับสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ หรือไม่มีวุฒิสาขาวิชาเกี่ยวกับบรรณารักษ์ห้องสมุด

A Study of teaching of library use and information literacy courses in the universities in Thailand

ขอบเขตและข้อจำกัดการวิจัย การกำหนดขอบเขตและข้อจำกัดของการวิจัยจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจการวิจัยมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยให้การวิจัยมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

ขอบเขตและข้อจำกัดการวิจัย จะเกี่ยวข้องกับวิธีการที่ใช้ในการศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา ขอบเขตเนื้อหา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ตลอดจนพื้นที่ที่ใช้ในการศึกษา