จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
แผนการจัดระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กระทรวงสาธารณสุข จัดระบบบริการสุขภาพออกเป็นหลายระดับได้แก่ บริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) โดยมุ่งหวังให้บริการแต่ละระดับมีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกันและเชื่อมต่อกันด้วยระบบส่งต่อ(Referral System)
ปีงบประมาณ 2553-2554 กำหนดกรอบแนวทางในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพได้มาตรฐานทุกระดับตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิและศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา "เครือข่ายที่ไร้รอยต่อ“ Service Plan แผน 5 ปี จะให้ความสำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ 3 ประเด็น บริการปฐมภูมิ ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา การพัฒนาโรงพยาบาลระดับต่างๆ
ปีงบประมาณ 2555-2556 จัดทำศักยภาพบริการระดับทุติยภูมิและ ตติยภูมิ เพื่อให้สถานบริการใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ส่วนขาด (Gap Analysis) การพัฒนาระบบบริการที่ตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพ 10 สาขา 1. หัวใจ 2. มะเร็ง 3. อุบัติเหตุ 4. ทารกแรกเกิด 5. สุขภาพจิตและจิตเวช 6. ตาและไต 7. 5 สาขาหลัก 8. ทันตกรรม 9. บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม 10.Non Communicable Disease: NCD ( DM, HT, COPD, Stroke)
วิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายวิชาชีพและสายสนับสนุนการจัดบริการ เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประกอบการพิจารณาจัดทำข้อเสนอการขอกำหนดตำแหน่งใหม่
FTE : Full Time Equivalent จำนวนพนักงานปฏิบัติงานเต็มเวลาเมื่อเทียบกับเวลามาตรฐานการทำงานเวลามาตรฐาน กำหนดให้ทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน จำนวน 240 วันต่อปี (หักวันหยุด) 1 FTE มีค่าเท่ากับ 1,680 ชั่วโมงต่อปี การคำนวณ FTE คำนวณจากภาระงาน (Workload) หารด้วย เวลามาตรฐานการทำงาน
ภาระงาน (workload) ภาระงาน : ปริมาณงาน เช่น บริการผู้ป่วยนอก มีหน่วยนับเป็นครั้ง (Case Visit) คูณ ด้วยเวลาที่ใช้ในการให้บริการแต่ละครั้ง
FTE1 กรอบกำลังพล 2556 FTE2. กรอบกำลังพล 2558 FTE2. >>> FTE1 กรอบกำลังพล 2556 FTE2. กรอบกำลังพล 2558 FTE2. >>>. กรอบกำลังพล 2558-2560 1. ตามภาระงาน work load : จ่ายยา OPD. IPD 2. ตาม service base : งานผลิต บริหารเวชภัณฑ์ บริบาลเภสัชกรม OPD IPD เภสัชสนเทศและพัฒนาระบบยา เภสัชปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ “ประชาชนจะเข้าถึง บริการที่ได้มาตรฐานโดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ”
ยุทธศาสตร์พัฒนางานเภสัชกรรม กำหนดบทบาทหน้าที่เภสัชกรให้ครอบคลุมการสนับสนุน 10 สาขา กำหนดบทบาทภารกิจหลักของเภสัชกรในสถานบริการระดับต่าง ๆ กำหนดความต้องการกำลังคนเพื่อสนับสนุนภารกิจ การพัฒนาสมรรถนะเภสัชกร นำเสนอกระทรวงสาธารณสุขพิจารณา
กรอบแนวคิดในการพัฒนา ก.การจัดโครงสร้างมาตรฐาน ระบบงานบริการเภสัชกรรม 1. งานบริการ เภสัชกรรม 2. งานบริบาล เภสัชกรรม 3. งานบริหาร เภสัชภัณฑ์ และ PIS 4. งานเภสัชกรรม การผลิต 5. งานเภสัชกรรม ชุมชนและ คบส. ข.ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 1. สาขา โรคหัวใจ 2. สาขา โรคมะเร็ง 3. สาขา อุบัติเหตุ 4. สาขา ทารกแรกเกิด
แผนอัตรากำลังเภสัชกรโรงพยาบาล พิจารณาจาก แผนพัฒนางานเภสัชกรรมตาม Service Plan แผนอัตรากำลังเภสัชกรโรงพยาบาล พิจารณาจาก I. ความต้องการด้านสุขภาพ (health demand) II. เป้าหมายบริการ (service target) III. การวิเคราะห์รายละเอียดงาน (job analysis) IV. การทำนายภาระงาน (workload prediction) แผนพัฒนาสมรรถนะของเภสัชกร พิจารณาจาก I. สมรถนะพื้นฐาน (Common Functional Competency ) II. สมรถนะพิเศษเฉพาะด้าน (Specific Functional Competency )
หลักสูตรอบรมระยะสั้น 4 เดือน ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ผ่านการรับรองจากสภาเภสัชกรรม หลักสูตรการฝึกอบรมการบริบาลทางเภสัชกรรมระยะสั้นในผู้ป่วยมะเร็ง (Oncology) หลักสูตรการฝึกอบรมการบริบาลทางเภสัชกรรมระยะสั้นในผู้ป่วยนอก(Ambulatory Care) หลักสูตรการฝึกอบรมการบริบาลทางเภสัชกรรมระยะสั้นด้านการตรวจติดตามระดับยาในเลือด (TDM) หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นการบริบาลทางเภสัชกรรมในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ (HIV) หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นด้านการประเมินและติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADR) หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นการบริหารจัดการระบบยาเพื่อการบริบาลทางเภสัชกรรม (Medication Management for Pharmaceutical Care) หลักสูตรการฝึกอบรมระยะสั้นการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulation) หลักสูตรที่รอประกาศ Hematology, Family pharmacist, จิตเวช, Acute care
รู้เขาแล้ว รู้เราแล้ว แล้วเราจะเดินต่อไปอย่างไร
ผังการจัดองค์กรและอัตรากำลังในอนาคต กลุ่มงานเภสัชกรรม หัวหน้ากลุ่มงาน งานบริการและบริบาลเภสัชกรรมพื้นฐาน OPD IPD งานผลิต คลัง จัดซื้อ DIS PCU เภสัชกร17 เภสัชกร18 เภสัชกร9 เภสัชกร2 เภสัชกร2 เภสัชกร3 เภสัชกร3 งานบริบาลเภสัชกรรมในศูนย์ความเชี่ยวชาญ (Excellence center) Cardiac Cancer New born Trauma เภสัชกร2 เภสัชกร3 เภสัชกร2 เภสัชกร2 ความต้องการเภสัชกรตาม SERVICE PLAN รวม 64 คน การประเมนิ ภาระงาน ปี 2556 ตาม Full Time Equivalent(FTE) =74 คน