การจัดทำคำอธิบายรายวิชา โสภณ จุโลทก ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีวิรุณบริหารธุรกิจ (VBAC) หัวหน้านักวิจัยภาคเหนือ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชา (Course Description) หมายถึง ขอบเขตของ “สาระการเรียนรู้” และ “ตัวชี้วัด” หรือ “ผลการเรียนรู้” (รายวิชา พต.) เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ นำเสนอภาพรวมของรายวิชา (พฐ. และ พต.) เป็นภาพกว้างตลอดปี (ประถมศึกษา) หรือตลอดภาค (มัธยมศึกษา)
ขั้นตอนการจัดทำ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศึกษาตัวชี้วัดชั้นปีทุกตัว จัดกลุ่มตัวชี้วัด ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เขียนตัวชี้วัดลงในตารางฯ เขียนสาระการเรียนรู้แกนกลางลงในตารางฯ
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 5. เขียนสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นลงในตาราง ระดับ สพม./สพป. ระดับโรงเรียน 6. นำรายละเอียดทั้งหมดเขียนคำอธิบายรายวิชา แบบรวมสาระ แบบแยกสาระ 7. สรุปจำนวนตัวชี้วัด พร้อมกับระบุรหัสตัวชี้วัดแต่ละตัว
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศึกษา “ตัวชี้วัดช่วงชั้น” ทุกตัว “จัดวาง” ตัวชี้วัดลงในชั้น ม.4, ม.5 และ ม. 6 จัดกลุ่มตัวชี้วัด ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เขียนตัวชี้วัดลงในตารางฯ เขียนสาระการเรียนรู้แกนกลางลงในตารางฯ
ขั้นตอนการจัดทำ : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 6. เขียนสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นลงในตาราง ระดับ สพม. ระดับโรงเรียน 7. นำรายละเอียดทั้งหมดเขียนคำอธิบายรายวิชา แบบรวมสาระ แบบแยกสาระ 8. สรุปจำนวนตัวชี้วัด และระบุรหัสตัวชี้วัดแต่ละตัว
ขั้นตอนการจัดทำ : สำหรับรายวิชาเพิ่มเติม เขียนสาระการเรียนรู้ที่ต้องการเพิ่มเติมลงในตาราง กำหนด “ผลการเรียนรู้” นำรายละเอียดตามข้อ 1 และ 2 มาเขียนคำอธิบายรายวิชา สรุปจำนวนผลการเรียนรู้และระบุผลการเรียนรู้แต่ละตัว
? สงสัย เราตอบ ท่านถาม