นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิธีสอนแบบอุปนัย.
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า รหัส
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC) วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) วิชา หลักการประชาสัมพันธ์ 2201-2701 เรื่อง การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ สำหรับนักเรียนปวช.2 ห้อง 1 สาขาการบัญชี นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)

ปัญหาการวิจัย วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) จะทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ในการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ดีขึ้นหรือไม่?

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อฝึกฝนทักษะการเขียนและเรียบเรียงข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ของนักเรียนปวช.2 ห้อง 1 สาขาการบัญชี โดยใช้วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ วิชาหลักการประชาสัมพันธ์ ก่อนและหลังการเรียนด้วยวิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) สำหรับนักเรียนระดับชั้นปวช.2 ห้อง 1 สาขาการบัญชี

วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) เป็นการสอนรายละเอียดปลีกย่อยไปหากฎเกณฑ์ หรือสอนจากตัวอย่างไปหากฎเกณฑ์ โดยการนำเอาตัวอย่างข้อมูล  เหตุการณ์  สถานการณ์หรือปรากฏการณ์ ที่มีหลักการแฝงอยู่มาให้ผู้เรียนศึกษา  สังเกต  ทดลอง  เปรียบเทียบหรือวิเคราะห์จนสามารถสรุปหลักการหรือกฎเกณฑ์ได้ด้วยตนเอง

ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี ชั้นปีที่ 2 ห้อง 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ กลุ่มตัวอย่าง ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบค่าความน่าจะเป็น (Non-probability Sampling) ด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการบัญชี ชั้นปีที่ 2 ห้อง 1 จำนวน 38 คน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล แบบทดสอบชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ (ทฤษฎี) ที่ คำถาม คะแนน 1 จงบอกความหมายของข่าวแจก 2 จงบอกหลักในการเขียนข่าว 3 จงอธิบายความเข้าใจเกี่ยวกับพาดหัวข่าว 4 จงอธิบายความเข้าใจเกี่ยวกับพาดหัวรอง 5 จงอธิบายความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อข่าว รวม

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล แบบทดสอบชุดที่ 2 เรื่อง การเขียนข่าวแจก (ปฏิบัติ) คะแนนเต็ม 5 คะแนน โจทย์: ให้นักเรียนเขียนข่าวแจก คนละ 1 ข่าว เพื่อทดสอบความสามารถในการเขียน ข่าวแจก โดยให้นักเรียนคิดหัวข้อข่าวขึ้นเองภายใต้แนวคิด “การประชาสัมพันธ์เพื่อชุมชน” โดยนักเรียนแต่ละคน ต้องสมมติตนเองเป็นนักประชาสัมพันธ์ของบริษัทหนึ่งๆ และเขียนข่าวเพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมขององค์กรที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนส่วนรวม

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล t – test แบบ Dependent Sample คือ สถิติอ้างอิง เป็นสถิติที่ใช้สรุปคุณลักษณะของกลุ่มประชากร และใช้สถิติอ้างอิงแบบการทดลองที่ 2 คือ การทดลองกลุ่มเดียว และมีการวัดผลการทดลอง 2 ครั้ง คือก่อนและหลังการทดลอง โดยครั้งที่ 1 จะทำการทดสอบก่อนการทดลอง หลังจากนั้นจึงทำการทดลองใช้วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) กับกลุ่มประชากร เมื่อทดลองเสร็จสิ้นจึงทำการทดสอบหลังการทดลอง จากนั้นนำเอาคะแนนทั้ง 2 ครั้ง มาเปรียบเทียบกัน

สรุปผลการวิจัย จากการศึกษา พบว่า คะแนนสอบหลังเรียน (Post – test) มีค่ามากกว่าคะแนนสอบก่อนเรียน (Pre – test) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ หรือกลุ่มตัวอย่างก่อนใช้นวัตกรรมและหลังใช้นวัตกรรมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน จากการใช้นวัตกรรมนี้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 งานวิจัยนี้จึงถือว่าเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ สรุปว่านวัตกรรมนี้ใช้ได้

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) ใช้เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างได้ผล นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะการคิดตามหลักการ เหตุผล ส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะในการเขียนและการเรียบเรียงประโยคให้กลมกลืนกันสะท้อนให้เห็นการพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการคิดอย่างเป็นระบบตามลักษณะเฉพาะของวิธีสอนแบบอุปนัย ผลการวิจัยที่ได้ สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาหลักการประชาสัมพันธ์สำหรับอาจารย์ท่านอื่น หรือสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นได้ โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของเนื้อหาในรายวิชานั้นๆ