การสุขศึกษา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรฐานงานสุขศึกษา สาเหตุของปัญหาสุขภาพของบุคคล 1. พฤติกรรมของบุคคล 2. พันธุกรรม 3. สภาพสิ่งแวดล้อม
2. ความรู้สึก อารมณ์ เจตคติ - วัดได้ มิติพฤติกรรมสุขภาพ 1. ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ - พฤติกรรมภายใน 2. ความรู้สึก อารมณ์ เจตคติ - วัดได้ 3. การแสดงออก การกระทำ - พฤติกรรมภายนอก - วัดได้
ระดับพฤติกรรมใครต้องการให้เกิดขึ้น ต้องการทุกระดับให้เกิดขึ้น 1. ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ (Cognitive domain) 2. ความรู้สึก อารมณ์ เจตคติ (Aftective domain) 3. การแสดงออก การกระทำ (Psychomotor domain) ทุกอย่างประกอบมีผลต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของบุคคล และของชุมชนทั้งสิ้น
องค์ประกอบพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป 1.เปลี่ยนความรู้ทางบวก แม้ว่าตนเองไม่ได้ทำ สามารถบอกลูกทำ หรือสอนแนะนำคนอื่นได้ 2.เปลี่ยนความรู้สึกทางบวก ไม่รังเกียจผู้ป่วยเอดส์ ไม่ต่อต้านกิจกรรมสุขภาพ 3.เปลี่ยนการกระทำทางบวก นำไปสู่การลดปัญหา
4. การกระทำบ่อยๆ นิสัย พฤติกรรมคงทน ส่งเสริมให้พฤติกรรมคงทนถาวร ลดอัตราการป่วย ลดปัญหาสุขภาพ ลดอัตราการตาย
การแก้ไขพฤติกรรมสุขภาพ 1. การบังคับโดยมาตรการต่างๆ ถูกบังคับเพื่อเปลี่ยน 2. การเรียนรู้ สมัครใจเปลี่ยนด้วยตนเอง
การเรียนรู้ 1. ไม่ได้วางแผนเพื่อเรียนรู้ 1.1 การเห็นตัวอย่างโดยบังเอิญ 1.2 ประสบการณ์โดยตรงเกิดกับตนเอง 1.3 การลองผิดลองถูก 1.4 ฯลฯ
2. การวางแผนเพื่อการเรียนรู้ การสุขศึกษา 2.1 ต้องมีข้อมูลของปัญหาคืออะไร 2.2 ต้องมีข้อมูลสาเหตุของปัญหา 2.3 ต้องมีแผนงานว่าจะทำอะไร 2.3.1 เป้าหมายที่ต้องการคือใคร 2.3.2 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการเปลี่ยนคืออะไร มากน้อยแค่ไหน 2.3.3 ต้องมีวิธีการที่ทำให้การเรียนรู้เกิดขึ้น 2.3.4 ต้องมีวิธีการวัดได้ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นหรือไม่ มากน้อยเท่าใด
การสุขศึกษาต้องเกิดจากการวางแผนการเรียนรู้ไม่ใช่เป็นการเรียนรู้แบบบังเอิญ หรือตามบุญตามกรรม หรือตามธรรมชาติ เพราะอาจ - ใช้เวลานาน - ความรุนแรงของสุขภาพอาจเพิ่มขึ้นเกินความสามารถที่จะแก้ไขได้ในคนนั้น - ปัญหาอาจขยายไปสู่บุคคลอื่นได้ - เสียงบประมาณมากในการแก้ไขภายหลัง
มาตราฐานงานสุขศึกษาจึงต้องเป็นการวางแผนอย่างเป็นระบบ ต้องดำเนินการเป็นขั้นตอน ต้องแสดงให้ทราบได้ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นหรือไม่ เกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด นำไปสู่การลด,หรือขจัดปัญหาสุขภาพได้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด นานแค่ไหน
แผนการตรวจประเมินมาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 2556 (ตรวจผลงานในปีงบประมาณ ปี 2555) - มกราคม 2556 กองสุขศึกษาแจ้งเรื่องถึงจังหวัดในการส่ง เอกสาร ม.ส.4 พร้อมแจ้งอัตราค่าตรวจประเมิน - มกราคม 2556 - เมษายน 2556 จังหวัดส่งเอกสาร ม.ส.4 ให้สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา - มีนาคม 2556 - 30 มิถุนายน 2556 ทีมประเมินมาตรฐานลง ตรวจสถานบริการ - สิงหาคม 2556 กรรมการรับรองมาตรฐานประชุมตัดสินผล การตรวจประเมิน - จัดประชุมมอบใบรับรองมาตรฐานภายใน ปี 2556
อัตราการตรวจประเมิน 1 – 4 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 14,500 บาท 1 – 4 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 14,500 บาท 5 – 9 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 12,500 บาท 10 – 25 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 10,900 บาท > 25 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 9,900 บาท