เรื่อง การแก้ไขปัญหา นักศึกษา ชอ-302 โดย ว่าที่ร้อยตรี รุ่ง ดีคำป้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นางพรทิพย์ วิริยะโพธิการ
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.

ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีเม โทร เชียงใหม่ เรื่องวิจัย การแก้ปัญหาของนักศึกษา ชอ. 202 ประกอบวงจรเครื่องขยายเสียงไม่เป็น ในรายวิชา เครื่องเสียง ผู้วิจัย นายนฤเดช.
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ

วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การศึกษาผลการให้นักศึกษา ท่องชุดคำถามก่อนการสอบ รายหน่วยรายวิชาวิถีธรรมวิถี ไทยของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา การบัญชีเบื้องต้น 2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1 และ ห้อง 2 โดยใช้เทคนิคการสอนการสอนแบบระดมพลังสมอง.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การแก้ไขปัญหา นักศึกษา ชอ-302 โดย ว่าที่ร้อยตรี รุ่ง ดีคำป้อ เรื่อง การแก้ไขปัญหา นักศึกษา ชอ-302 การวัดและตรวจสอบฟลายแบ็ค ในวิชา เครื่องรับโทรทัศน์ โดย ว่าที่ร้อยตรี รุ่ง ดีคำป้อ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร

ปัญหาการวิจัย จากการสอนในวิชาเครื่องรับโทรทัศน์เบื้องต้นพบว่าในภาคปฏิบัติ มีปัญหาเกี่ยวกับการวัดและตรวจสอบฟลายแบ็ค ไม่สามารถแยกแยะฟลาย แบ็คที่ดีกับฟลายแบ็คที่เสียได้โดยใช้เครื่องมือวัดมัลติมิเตอร์ ทำให้การวัด และตรวจสอบฟลายแบ็คดังกล่าว เป็นไปด้วยความล่าช้า และเกิดความ ผิดพลาด ส่งผลกระทบต่อการเรียนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ จากปัญหาที่พบ ผู้วิจัยจึงนำมาเป็นหัวข้อในการวิจัยในครั้งนี้ เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น และให้นักศึกษามีทักษะด้านการปฏิบัติที่ดียิ่งขึ้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อช่วยพัฒนาทักษะให้นักศึกษา ชอ-302 วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จำนวน 5 คน ในการวัดและตรวจฟลายแบ็คในเครื่องรับโทรทัศน์ 2. เพื่อทำให้นักศึกษาทราบขั้นตอนที่ถูกต้องในการวัดและตรวจฟลายแบ็ค ในเครื่องรับโทรทัศน์

ตารางการวิเคราะห์ข้อมูล รหัสนักศึกษา ชื่อ-สกุล คะแนนก่อนวิจัย (10) คะแนนหลังวิจัย (10) ผลต่างของคะแนน 5410208 นายชัยยงค์เกีตรติ แก้วคำมูล 4 10 6 5310183 นายธนวุฒิ แก้วมณี 2 8 5310267 นายสยัมภู หมี่เซอร์ 1.5 9 7.5 5310177 นายวรายุทร ใจชมชื่น 1 5310162 นายธีรพงศ์ แก้วกัน รวม 10.5 44 33.5 ค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนการวิจัย = 21% ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังการวิจัย = 88% ค่าความต่างรวม = 67%

สรุปผลการวิจัย จากการวิจัยนักศึกษาจำนวน 5 คน พบว่าเมื่อได้ทบทวนความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับโครงสร้างของฟลายแบ็คแก่นักศึกษา และให้นักศึกษาทำการศึกษา หลักการตรวจวัด และตรวจสอบฟลายแบ็คตามแบบขั้นตอนที่ได้เตรียมไว้ รวมถึงศึกษาการใช้งานโอห์มมิเตอร์ในการตรวจวัด และตรวจสอบฟลายแบ็ค ทำให้นักศึกษาเข้าใจในหลักการตรวจวัดดังกล่าว ส่งผลให้สามารถตรวจวัด และตรวจสอบฟลายแบ็คได้อย่างถูกต้อง สังเกตได้จากการทดสอบก่อนการ วิจัยนักศึกษาสามารถทำคะแนนได้ 21% ของคะแนนทั้งหมด แต่หลังการวิจัย นักศึกษาสามารถทำคะแนนได้ 88% ของคะแนนทั้งหมด ค่าความต่างของ คะแนนก่อนและหลังการวิจัยห่างกันถึง 67%

ภาพประกอบการวิจัย

ภาพประกอบการวิจัย

จบการนำเสนอ