งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัย ผลการใช้แบบฝึกการเขียนคำที่มักเขียนผิด
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจคงทน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
อาจารย์นริสรา คลองขุด
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ความหมายของคำศัพท์ภาษาอังกฤษโดยการใช้ เกม Bingo Vocab ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ประเภทพาณิชยกรรม.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
Subtitle Goes Hre PBL Problem Based Student Centered Small Group.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร พรพนารัตน์ 082-449-4959 , 083-493-7555 , Supakorn2510@hotmail.com วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม(สยามเทค)

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (บทนำ) การจัดการอาชีวศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2559) ระบุส่วนใหญ่การจัดการศึกษายังไม่สามารถจัดการศึกษาและ อบรมความรู้และทักษะหลายด้านให้แก่ผู้เรียนจากผลวิจัยประนอม เนติพุทถาวรกูล พบว่า การสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติหลังเรียนมีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียน (ปัญหาที่เกิดกับผู้เรียนในวิชาที่จะทำวิจัย) จากข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้น ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ เมื่อนักศึกษาตะไบแล้วผิวไม่เรียบ ส่วนมากผิวจะโก่งหรือโค้ง ถ้านักศึกษาไม่เข้าใจจากการทำงานก็จะแก้ไขผิดวิธี ทำให้ชิ้นงานมีขนาดเล็กกว่าที่ กำหนดและผิวไม่เรียบ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อศึกษาพฤติกรรมวิธีการตะไบผิวเรียบของนักศึกษา 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังสาธิต ขอบเขตของการวิจัย 1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ทำการวิจัยในเนื้อหาเรื่อง พัฒนาการสอน แบบสาธิตร่วมมือกับการลงมือปฏิบัติเรื่องการตะไบผิวเรียบ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน วิชา งานฝึกฝีมือ ตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ.2545 ปรับปรุง พ.ศ.2546 1.3.2 ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับ ปวช. ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชา ช่างยนต์ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม(สยามเทค) ที่ลงทะเบียนเรียน วิชา ฝึกฝีมือ ในภาคเรียนที่ 1 จำนวน 40 คน

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 1.นักศึกษาปฏิบัติงานตะไบได้ถูกต้อง 2.นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนดีขึ้น

ผลของการวิจัย ผลการวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยของคะแนนก่อนสาธิตและคะแนนหลังสาธิต   สรุปได้ว่า คะแนนเฉลี่ยจากหลังการสาธิตสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการสาธิตจริง เชื่อถือได้ 99% สรุปว่าผู้เรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบสาธิตกับการลงมือปฏิบัติมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้นจริง คะแนน T ก่อนการสาธิต 6.70 13.05 หลังสาธิต 8.17

สรุปผลและข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมวิธีการตะไบผิวเรียบของนักศึกษาได้ถูกต้อง 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการสาธิตการตะไบผิวเรียบ สรุปผลการวิจัย จากการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่องการตะไบผิวเรียบ โดยทดลองกับนักศึกษา ปวช.1 สาขา ยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) จำนวน 40 คน ผลการวิจัยซึ่งได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏ ดังนี้

1. พฤติกรรมวิธีการตะไบผิวเรียบของนักศึกษาได้ถูกต้อง ร้อยละ 97. 50 2 1.พฤติกรรมวิธีการตะไบผิวเรียบของนักศึกษาได้ถูกต้อง ร้อยละ 97.50 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทำให้คะแนนเฉลี่ยหลังสาธิตมีค่าสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนสาธิต อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 อภิปรายผล จากผลที่ผู้วิจัยนำการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ไปทดลองใช้ พบประเด็นที่สามารถนำไปอภิปรายผลได้ดังนี้ ในภาพรวมของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคะแนนเฉลี่ยหลังสาธิตสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนสาธิตทั้งนี้เพราะว่า การสาธิตจาก ของจริงมีส่วนช่วยกระตุ้นให้นักศึกษามีความสนใจและได้เห็นการปฏิบัติงานจริงอย่าง ถูกต้อง

ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 1 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 1.การสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ควรจัดให้นักศึกษาเป็นกลุ่ม ย่อยเพื่อนักศึกษาจะได้มองเห็นการสาธิตอย่างชัดเจน 2.การสอนต้องเน้นย้ำจุดสำคัญและเทคนิควิธีการต่างๆและการใช้เครื่องมือ- วัดให้ถูกต้อง