การศึกษาบทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษา ในการทำหน้าที่แนะแนวตามทัศนะของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์ นางสาวมณีโชค สังหาญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
ปัญหา การวิจัย สภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันอยู่ใน สภาวะวิกฤติ จึงส่งผลให้ผู้ปกครองไม่มีเวลา พอที่จะดูแลและรับฟังปัญหาของบุตรธิดาเหมือน แต่ก่อน ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงช่วงชั้น เรียน ส่งผลทำให้นักเรียน ปรับตัวไม่ทันทำให้ นักเรียนเกิดความรู้สึกว้าเหว่สับสนขาดที่พึ่งและ ที่ปรึกษา เกิดปัญหาทางด้านการเรียนและการ ปรับตัวตามมา ดังนั้นอาจารย์ซึ่งมีความใกล้ชิด กับผู้เรียนเป็นอันดับสองรองลงมาจากผู้ปกครอง จึงมีหน้าที่คอยดูแลและรับฟังปัญหา จึงได้มีการ จัดอาจารย์ที่ปรึกษาสำหรับนักเรียนไปขอ คำแนะนำหรือความช่วยเหลืองทั้งด้านการเรียน ปัญหาส่วนตัวที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน
วัตถุประสง ค์ เพื่อศึกษาทัศนะของนักเรียน ที่มีต่อ บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาในการทำหน้าที่ แนะแนวตามที่ปฏิบัติจริง และบทบาททที่ นักเรียนคาดหวังต้องการให้ปฏิบัติ
ตาราง แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น รายด้านทัศนะของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพที่มีบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาในการทำหน้าที่แนะ แนวตามที่ปฏิบัติจริงและบทบาทที่นักเรียนคาดหวัง ต้องการให้ปฏิบัติ ทัศนะ บทบาทอาจารย์ที่ ปรึกษา ตามที่ปฏิบัติจริง บทบาทอาจารย์ที่ ปรึกษา ตามที่คาดหวัง S.D. ความห มาย S.D. ความห มาย 1. บริการสำรวจ ข้อมูลเป็น รายบุคคล มาก มาก 2. บริการสนเทศ มาก มาก 3. บริการให้ คำปรึกษา มาก มาก 4. บริการจัด วางตัวบุคคล มาก มาก 5. บริการติดตาม ผล มาก มาก รวมทั้ง 5 ด้าน มาก มาก
ตาราง แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเป็นรายข้อตามทัศนะของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพที่มีบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษา ในการทำหน้าที่แนะแนวตามที่ปฏิบัติจริงและบทบาท ที่นักเรียนคาดหวังต้องการปฏิบัติ ทัศนะ บทบาทอาจารย์ที่ ปรึกษา ตามที่ปฏิบัติจริง บทบาทอาจารย์ที่ ปรึกษา ตามที่คาดหวัง S.D. ความห มาย S.D. ความห มาย 1. บริการสำรวจ ข้อมูลเป็น รายบุคคลด้าน การศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและ สังคม 2. บริการสนเทศ ด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและ สังคม ด้านรูปแบบให้ ข้อมูลข่าวสาร ’92 มาก มาก มาก มาก
ตารางต่อ ทัศนะ บทบาทอาจารย์ที่ ปรึกษา ตามที่ปฏิบัติจริง บทบาทอาจารย์ที่ ปรึกษา ตามที่คาดหวัง S.D. ความห มาย S.D. ความห มาย 3. บริการให้คำปรึกษา ด้านวิธีการให้คำปรึกษา ด้านการจัดเวลาในการให้ คำปรึกษา ด้านคุณลักษณะของอาจารย์ที่ ปรึกษาในการให้คำปรึกษา 4. การจัดวางตัวบุคคล ด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม 5. บริการการติดตามผล มาก มาก มาก มาก
สรุป ผลการวิจั ย พบว่า เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านตามที่นักเรียนมี ทัศนะต่อบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาในการทำ หน้าที่แนะแนวตามที่ปฏิบัติจริง พบว่า ด้าน การศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคมมี ความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และนักเรียนมี ทัศนะต่อบทบาทอาจารย์ที่ปรึกษาตามที่ คาดหวังต้องการให้ปฏิบัติด้านการศึกษา ด้าน อาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก